Close Menu
  • Home
  • Android
    • News
    • Tips
  • Apple
    • iPad
      • News
      • Tips
    • iPhone
      • News
      • Tips
  • WINDOWS
    • News
    • Tips
  • Gaming
    • Game Review
    • PlayStation
    • Nintendo
    • Xbox & PC
    • Mobile
  • Gadget Reviews
    • Accessories
    • Devices
  • Wearable
  • EV Car
  • Miscellaneous
    • News
    • Tips
  • Tips and Tricks
  • Video
  • Cooky Policies
  • ติดต่อโฆษณา
แอพดิสคัสแอพดิสคัส
  • Home
  • Android
    • Tips & Tricks
  • Apple
    • Tips & Tricks
  • Windows
    • Tips & Tricks
  • Gaming
    • Game Review
    • In Spotlight
    • PlayStation
    • Xbox & PC
    • Nintendo
    • Mobile Games
  • Reviews
    • Mobiles & Tablets
    • Game Review
    • Accessories
  • EV Car
  • Miscellaneous
แอพดิสคัสแอพดิสคัส
คุณกำลังอ่าน :Home » Mobile and Gadget » Accessories » รีวิว ทดสอบการใช้งาน หลอดไฟอัจฉริยะ Mipow Playbulb หลอดไฟควบคุมด้วยสมาร์ทโฟนพร้อมลำโพงในตัว
Accessories

รีวิว ทดสอบการใช้งาน หลอดไฟอัจฉริยะ Mipow Playbulb หลอดไฟควบคุมด้วยสมาร์ทโฟนพร้อมลำโพงในตัว

1 กันยายน 20141 Min Read

รีวิว ทดสอบการใช้งาน หลอดไฟอัจฉริยะ Mipow Playbulb หลอดไฟควบคุมด้วยสมาร์ทโฟนพร้อมลำโพงในตัว

IMAG0040-610x345

ของเล่นใหม่ยุคไอที ที่มีประโยชน์ในการใช้งานได้จริงๆ จัง1 อย่างเจ้าหลอดไฟอัจฉริยะ Mipow Playbulb เป็นผลิคภัณฑ์ที่กวาดรางวัลมาแล้วหลายสถาบันทั่วโลกครับ ทั้งในเรื่องแนวคิด การใช้งาน และการออกแบบตัวหลอดไฟ ที่วันนี้ทาง Mipow เขาได้ประยุกต์ใหม่ นำหลอดไฟมาผสมรวมตัวกันกับลำโพงไร้สาย แบบบลูทูธ เพื่อการฟังเพลงและการควบคุมแสงไฟได้ในระยะไกลผ่านอุปกรณ์ำพกพาอย่างสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ต ทั้งในระบบ Android และ iOS

ตัว Mipow Playbulb จะมีลักษณะภายนอกเหมือนหลอดไฟแบบขั้วเกลียวมาตรฐานทั่วๆ ไปเลยครับ ยกเว่นตรงส่วนท้ายด้านล่างของตัวหลอดไฟเราจะสังเตเห็นลำโพงสีเงินที่ติดตั้งอยู่ภายใน เราสามารถนำเจ้า Playbulb ไปใช้งานได้กับโคมไฟหรือขั้วหลอดไฟมาตรฐานที่เราใช้ๆ กันอยู่ได้ทันทีโดยไม่ต้องมีการติดตั้งอะไรเพิ่มเติมให้ยุ่งยาก ถอดหลอดไฟธรรมดาที่บ้านหลอดเก่าออก แล้วหมุนเจ้า Playbulb  ตัวใหม่นี่ใส่เข้าไปได้ทันที ก็พร้อมจะใช้งานได้แล้วครับ

IMAG0038-610x345

Advertisement
Advertisement
Advertisement

การทำงานและการใช้งานของ Playbulb  ในเรื่องของการควบคุมแสง ก็จะสามารถสั่งงานได้ทั้งในรูปแบบไร้สายผ่านสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ต หรือจะเปิดปิดด้วยสวิทช์ไฟเดิมๆ ที่่บ้านเราก็ได้ทั้งคู่ แต่ถ้าเราสั่งงานผ่านสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ตด้วยแอพพลิเคชั่นที่ทาง Mipow ทำไว้ให้ ก็จะมีความสามารถเพิ่มเติมเข้ามา เช่นการเลือกระดับหรี่แสงไฟ (Dimmer) หรือการเปิดปิดได้โดยตรงจากบนแอพพลิเคชั่นครับ

สำหรับการควบคุมด้านเสียง หรือการใช้งานลำโพงไร้สายของ Playbulb ก็สามารถเชื่อมต่อกันกับสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ตของเราได้ผ่านสัญญาณบลูทูธครับ เล่นเพลงจากไฟล์เพลงในเครื่องเราผ่านแอพพลิเคชั่นตัวเล่นเพลง (หรือหนัง) ตัวใดๆ ก็ได้ ก็สามารถใช้หลอดไฟในการเป็นลำโพงไร้สายให้เราได้ตลอดเวลา รวมถึงในแอพพลิเคชั่นของ Playbulb เอง ก็จะมีความสามารถในการเล่นเพลงภายในเครื่องของเราได้เช่นกันครับ ^^

11111

 

ในตัวแอพพลิเคชั่นของทาง Playbulb ยังมีฟังชั่นการใช้งานมาให้อีกสี่หมวดสำคัญที่นำมาใช้ให้เหมาะกับชีวิตประจำวันของเราได้ครับ

  • โหมด “ตื่นนอน” สำหรับการใช้ Playbulb ให้เป็นนาฬิกาปลุกด้วยเสียงเพลงจากไฟล์เพลงโดยตรงในอุปกรณ์ของเราครับ
  • โหมด “ประหยัดพลังงาน” ด้วยแอพพลิเคชั่นของ Playbulb ในโหมดนี้ จะทำให้เราสามารถตั้งค่าเวลาปิดไฟไว้ล่วงหน้าได้ เผื่อว่าเรากลัวจะเผลอหลับไปโดยที่ยังไม่ได้ปิดไฟนั้นเองครับ
  • โหมด “กลางคืน” เป็นโหมดที่ใช้ตั้งเวลาที่ต้องการให้ Playbulb เปิดไฟโดยอัตโนมัตินั้นเองครับ แต่เราสามารถตั้งได้ทั้งเวลา รวมถึงความสว่างของแสงไฟที่ต้องการจะเปิดไว้ได้พร้อมๆ กัน
  • โหมด “นอนหลับ” ออกแบบมาเพื่อคนขี้เหงา ^^เป็นโหมดที่ให้เราตั้งค่าเวลาล่วงหน้า เพื่อปิดการเล่นเพลงผ่าน Playbulb รวมถึงตั้งค่าเวลาในการปิดแสงไฟได้พร้อมๆ กันครับ และสำหรับบางคนที่ไม่ชอบการปิดไฟนอน ในโหมดนี้เราจะสามารถเลือกให้ Playbulb ปิดไฟไปเลยหรือจะแค่หรีแสงไฟลงก็ได้เช่นกันครับ

เรายังสามารถใช้การเขย่าอุปรณ์ของเราแทนการหรี่แสงไฟได้ด้วย (แม้จะดูลำบากกว่าการเลื่อนสวิทช์บนหน้าจอ) ^^ แต่ลองนึกถึงหลอดไฟที่หัวนอน ในห้องนอนห้องน้ำ หรือพื้นที่บ้านในขนาดประมาณ 30 ตารางเมตรที่เป็นพื้นที่ส่วนตัวของเราดูครับ หลอดไฟที่ควบคุมด้วยสมาร์ทโฟนในมือเราได้ และแถมยังเป็นลำโพงให้กับเราภายในห้องได้ไปในตัว มันจึงเป็นอุปกรณชนิดใหม่ที่ดูน่าสนใจสำหรับคนใช้สมาร์ทดีไวซ์อย่างพวกเรามากๆ ครับ

คลิปทดสอบ และวิธีการใช้งาน

หลังจากที่ลองทดสอบการใช้งานของเจ้า Mipow playbulb ดูแล้ว ในบางครั้งตอนการเชื่อมต่อครั้งแรก จำเป็นต้องเข้าไปเชื่อมต่อหลอดไฟกับอุปกรณ์ของเราผ่านทางหน้าการตั้งต่า “บลูทูธ” ซะก่อนครับเพื่อการทำงานได้อย่างสมบูรณ์ แม้ในหน้าแอพพลิเคชั่นของ Playbulb จะมีเมนูในการเชื่อมต่อมาให้ก็ตาม แต่จะเป็นการเชื่อมต่อเพื่อการควบคุมหลอดไฟ ในการใช้งานลำโพงแนะนำให้ไปเชื่อมต่อผ่านทางหน้าการตั้งค่าบลูทูธจะง่ายกว่าครับ

แต่หลังจากเชื่อมต่อกันแล้ว การสั่งงานต่างๆ แม่นยำดีครับ เราสามารถสั่งงานได้ผ่านทุกๆ อุปกรณ์ที่เราเคยทำการจับคู่เชื่อมต่อกันไว้ เปิดแอพ Playbulb จากเครื่องไหน ตัวแอพก็จะทำการจับคู่เพื่อเข้าควบคุมการทำงานของ Playbulb ได้ทันทีครับ

หลอดไฟให้แสงสว่างแบบ Warm Light LED 3W  และลำโพง 3W RMS มีการปรับอีควอไลเซอร์ในตัวแอพพลิเคชั่น เสียงดังแต่คุณภาพเสียงอยู่ในระดับกลางๆ ธรรมดาทั่วไป

ทาง Mipow เปิดราคามาที่ 1,990 บาทครับ ราคาไม่หนีไปจากลำโพงไร้สายที่ขายในตลาดสักเท่าไหร่ แต่ได้ในเรื่องความแปลกใหม่และประโยชน์การใช้งานในฟังชั่นต่างๆ ที่ให้มาได้มากขึ้นครับ มีประโยชน์กว่าลำโพงทั่วๆ ไปอย่างแน่นอน ที่สำคัญ ดูล้ำมากเลยสำหรับคนมองหาเรื่องราวไอทีไปประดับราศีภายในบ้านหรือห้องคอนโดครับ ^^

Appstore playstore

mipow playbulb Review บลูทูธ รีวิว ลำโพงบลูทูธ หลอดไฟ
Google News YouTube
Share. Facebook Twitter LinkedIn Email Copy Link
Avatar photo
Noppinij
  • Website
  • Facebook
  • X (Twitter)

ในสิ่งที่เรารู้และเข้าใจ มันก็ยังมีระดับความลึกของความเข้าใจที่แตกต่างกัน ลึกบ้าง บางบ้าง แต่ประโยชน์ในการส่งผ่านสิ่งที่รู้ออกไปให้กับผู้อื่นนั้นไม่ต่างกัน มีประถม มีมัธยม มีอุดมศึกษา ไม่มีใครเริ่มต้นเรียนรู้จากในระดับปริญญา ฉะนั้นจะมากจะน้อยเชื่อเถอะว่า ความรู้ของทุกคนมีประโยชน์ให้กับผู้อื่นได้ เท่าๆ กัน

Advertisement
Advertisement
Advertisement

Related Posts

8.5
Devices

รีวิว Infinix Note 50 Pro+ 5G+ สมาร์ตโฟนสุดคุ้ม สเปคแรง! ชาร์จไว 100W กล้อง 50MP OIS ซูม 100X

1 พฤษภาคม 2025
7.7
Devices

รีวิว vivo V50 Lite และ vivo Watch GT สมาร์ตโฟน+สมาร์ตวอทช์ “คู่หูแบตอึด” บางเบา จอคมชัด จัดเต็มเกินราคา

22 เมษายน 2025
8.9
Devices

รีวิว OPPO Find N5 สมาร์ตโฟนจอพับบางที่สุดในโลก แข็งแรง เทคโนโลยีล้ำ! พร้อมสำหรับการทำงาน และกล้องระดับโปร

8 เมษายน 2025
7.2
Devices

รีวิว vivo Y39 5G จัดเต็ม เครื่องสวยสายลุย! “เอาอยู่ ทุกความท้าทาย”

3 เมษายน 2025
Your Updates

รีวิวแรกสัมผัส POCO F7 Pro สมาร์ตโฟน Snapdragon 8 Gen 3 พร้อมจอ 2K AMOLED มาแบบเรือธงแต่ขายแค่หมื่นกลาง! มันเป็นอย่างไร?

1 เมษายน 2025
7.8
Devices

รีวิว nubia Neo 3 5G เกมมิ่งโฟนสุดคุ้ม เด่นด้วยไฟ RGB! เปิดตัวแรงในราคาไม่ถึง 7,000 บาท

1 เมษายน 2025
What Score?
8.5
Devices

รีวิว Infinix Note 50 Pro+ 5G+ สมาร์ตโฟนสุดคุ้ม สเปคแรง! ชาร์จไว 100W กล้อง 50MP OIS ซูม 100X

By Noppinij1 พฤษภาคม 2025261 Views
7.7
Devices

รีวิว vivo V50 Lite และ vivo Watch GT สมาร์ตโฟน+สมาร์ตวอทช์ “คู่หูแบตอึด” บางเบา จอคมชัด จัดเต็มเกินราคา

By Noppinij22 เมษายน 2025226 Views
8.9
Devices

รีวิว OPPO Find N5 สมาร์ตโฟนจอพับบางที่สุดในโลก แข็งแรง เทคโนโลยีล้ำ! พร้อมสำหรับการทำงาน และกล้องระดับโปร

By Noppinij8 เมษายน 2025298 Views
7.2
Devices

รีวิว vivo Y39 5G จัดเต็ม เครื่องสวยสายลุย! “เอาอยู่ ทุกความท้าทาย”

By Noppinij3 เมษายน 2025

On AppDisqus Channel

รีวิว Alldocube iPlay60 Pad Pro แท็บเล็ตลูกครึ่งโน๊ตบุ๊ค หน้าจอ 12.1 นิ้ว แบต 10000mAh สเปกคุ้มๆ ราคาไม่ถึงเก้าพัน

Follow Us
  • Facebook
  • Twitter
  • YouTube
  • TikTok
Latest
Xbox & PC World

Killing Floor 3 ประกาศวันวางจำหน่ายใหม่ 24 กรกฎาคมนี้ หลังเลื่อนจากกำหนดเดิม

By Teethasade Isarankura Na Ayudhaya12 พฤษภาคม 2025

Samsung เตรียมเพิ่ม “Private album” ซ่อนภาพและวิดีโอลับได้ใน One UI 8 โดยไม่ต้องลงแอปเพิ่ม

12 พฤษภาคม 2025

หลุดสเปก iQOO Pad 5 / Pad 5 Pro ก่อนเปิดตัว พร้อมเผยโฉม Watch 5

12 พฤษภาคม 2025

Windows Phone เพิ่งมีแอป AI ChatGPT ตัวแรก!

12 พฤษภาคม 2025

มุมมองสะท้อนระบบการศึกษายุคใหม่: นักศึกษา Ivy League ใช้ AI ทำการบ้าน 80%: เมื่อการศึกษาเข้าสู่ยุคของการ “ฝากหุ่นยนต์เรียนแทน”

11 พฤษภาคม 2025
เรื่องที่เกี่ยวข้อง
Xbox & PC World

Killing Floor 3 ประกาศวันวางจำหน่ายใหม่ 24 กรกฎาคมนี้ หลังเลื่อนจากกำหนดเดิม

12 พฤษภาคม 2025
Android

Samsung เตรียมเพิ่ม “Private album” ซ่อนภาพและวิดีโอลับได้ใน One UI 8 โดยไม่ต้องลงแอปเพิ่ม

12 พฤษภาคม 2025
Android

หลุดสเปก iQOO Pad 5 / Pad 5 Pro ก่อนเปิดตัว พร้อมเผยโฉม Watch 5

12 พฤษภาคม 2025
WINDOWS

Windows Phone เพิ่งมีแอป AI ChatGPT ตัวแรก!

12 พฤษภาคม 2025
แอพดิสคัส
Facebook X (Twitter) Instagram YouTube TikTok
  • Home
  • ติดต่อโฆษณา
  • Cookies Policy & Settings
© 2025 APPDISQUS.COM APPDISQUS : A Source You Can Trust.

Type above and press Enter to search. Press Esc to cancel.

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ ดูเพิ่มเติมที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว
ตั้งค่าคุกกี้อนุญาตทั้งหมด
ตั้งค่าความยินยอม

Privacy Overview

AppDisqus.com ใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสบการณ์การใช้งานในขณะที่คุณกำลังอ่านและรับชมคอนเทนต์ต่างๆ ผ่านทางหน้าเว็บไซต์ โดยในบรรดาคุกกี้เหล่านี้ คุกกี้ประเภทข้อมูลที่จำเป็นนั้นจะถูกจัดเก็บเอาไว้บนอุปกรณ์ส่วนตัวของคุณเองที่ใช้สำหรับการเข้าชมเว็บไซต์เนื่องด้วยเหตุผลที่ว่าคุกกี้เหล่านี้เป็นคุกกี้ที่จำเป็นเพื่อให้เว็บไซต์สามารถทำงานได้อย่างถูกต้องและสมบูรณ์ นอกจากนี้เรายังใช้คุกกี้บุคคลที่สามเพื่อให้เราสามารถวิเคราะห์และเข้าใจการใช้งานเว็บไซต์ AppDisqus.com ของคุณมากยิ่งขึ้น โดยคุกกี้เหล่านี้จะถูกจัดเก็บเอาไว้บนอุปกรณ์ของคุณเท่านั้น และจะจัดเก็บได้ก็ต่อเมื่อคุณได้การอนุญาต ทั้งนี้คุณสามารถจัดการกับการตั้งค่าคุกกี้ของคุณได้เสมอผ่านทางเมนูการตั้งค่านี้

อย่างไรก็ตาม การปิดการใช้งานคุกกี้บางประเภทอาจทำให้เว็บไซต์ไม่สามารถทำงานได้อย่างสมบูรณ์ ส่งผลต่อประสบการณ์การใช้งานของคุณได้
ข้อมูลจำเป็น
Always Enabled
คุกกี้บางประเภทนั้นจำเป็นที่จะต้องนำมาใช้งานเพื่อทำให้เว็บไซต์สามารถมอบประสบการณ์การใช้งานที่ครบฟังก์ชั่นกับผู้ใช้งานได้ โดยคุกกี้ประเภทนี้จะช่วยให้เราคงเซ็สชั่นการเข้าถึงเว็บไซต์ของคุณเอาไว้ ตลอดจนป้องกันสิ่งต่างๆ ที่มีผลต่อความปลอดภัยในการใช้งานเว็บไซต์ AppDisqus.com ทั้งนี้ คุกกี้ประเภทนี้จะไม่มีการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้งานแต่อย่างใด ยกตัวอย่างเช่น คุกกี้ประเภทนี้จะใช้เพื่อให้คุณสามารถเข้าสู่ระบบและคงสถานะการเข้าระบบของคุณบนเว็บเว็บไซต์เราเอาไว้ได้นั่นเอง
CookieDurationDescription
AWSALBCORS7 daysAmazon Web Services ใข้คุกกี้นี้เพื่อเป็นการใช้งานฟังก์ชั่น load balancing หรือการกระจายโหลดเซิร์ฟเวอร์
cf_use_obpastCloudflare ใช้คุกกี้นี้เพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพความรวดเร็วในการโหลดหน้าเว็บไซต์ เพื่อประสบการณ์การใช้งานของผู้เข้าชม
cookielawinfo-checkbox-analytics11 monthsคุกกี้นี้จัดเก็บความยินยอมของผู้ใช้งานให้กับคุกกี้ในหมวดประเภท "ข้อมูลสถิติ"
cookielawinfo-checkbox-functional11 monthsคุกกี้นี้จัดเก็บความยินยอมของผู้ใช้งานให้กับคุกกี้ในหมวดประเภท "ฟังก์ชั่นการทำงาน"
cookielawinfo-checkbox-necessary11 monthsคุกกี้นี้จัดเก็บความยินยอมของผู้ใช้งานให้กับคุกกี้ในหมวดประเภท "จำเป็น"
cookielawinfo-checkbox-others11 monthsคุกกี้นี้จัดเก็บความยินยอมของผู้ใช้งานให้กับคุกกี้ในหมวดประเภท "อื่นๆ"
cookielawinfo-checkbox-performance11 monthsคุกกี้นี้จัดเก็บความยินยอมของผู้ใช้งานให้กับคุกกี้ในหมวดประเภท "ประสิทธิภาพ"
JSESSIONIDsessionคุกกี้ JSESSIONID ถูกใช้โดย New Relic เพื่อเป็นการเก็บไอดีจำเพราะในการเข้าใช้งานของผู้ใช้งานเพื่อให้ New Relic สามารถติดตามและตรวจนับเซ็ตชั่นการเข้าใช้งานเว็บไซต์ได้
viewed_cookie_policy11 monthsคุกกี้นี้ใช้เพื่อเป็นการเก็บความยินยอมในการอนุญาตให้จัดเก็บและใช้งานคุกกี้ของผู้ใช้งาน โดยไม่มีการจัดเก็บข้อมูลส่วนตัวใดๆ ของผู้ใช้งานแม้แต่น้อย
ข้อมูลเพื่อฟังก์ชั่นการทำงาน
คุกกี้ประเภทนี้จะเก็บข้อมูลเพื่อฟังก์ชั่นการทำงานที่อาจไม่ได้จำเป็นที่สุดบนหน้าเว็บไซต์ AppDisqus.com ยกตัวอย่างเช่นฟังก์ชั่นการฝังสื่อประเภทวิดีโอและปุ่มการแชร์บทความไปยังโซเชียลมีเดียต่างๆ บนเว็บไซต์เป็นต้น
ข้อมูลประสิทธิภาพ
คุกกี้ประสิทธิภาพใช้เพื่อวิเคราะห์ความเข้าใจในประสบการณ์การทำงานของเว็บไซต์ต่อผู้ใช้งาน เพื่อให้เราสามารถปรับปรุงเว็บไซต์ให้มีความเหมาะสมต่อการใช้งานมากยิ่งขึ้น
ข้อมูลสถิติ
คุกกี้ประเภทนี้จะจัดเก็บข้อมูลประเภทสถิติ เช่นตัวเลขผู้เข้าชมเว็บไซต์ ตัวเลข UIP หรือผู้ใช้งานที่นับต่อ IP ข้อมูลหน้าเว็บไซต์ที่ถูกเข้าถึงบ่อยที่สุด ข้อมูลแหล่งที่มาของการเข้าถึง และอื่นๆ ในลักษณะเดียวกัน โดยข้อมูลเหล่านี้จะช่วยให้เราสามารถเข้าใจและวิเคราะห์ประสิทธิภาพของเว็บไซต์เราได้ดียิ่งขึ้น ตลอดจนชี้ให้เห็นว่าเราควรปรับปรุงในเรื่องใดเพื่อประสบการณ์ที่ดีขึ้นของผู้ใช้งาน
CookieDurationDescription
_ga_CE4TLMWX4S2 yearsคุกกี้ถูกติดตั้งโดย Google Analytics เพื่อเป็นการเก็บข้อมูลจำนวนผู้เข้าชมเว็บไซต์
_gid1 dayติดตั้งโดย Google Analytics โดย คุกกี้ _gid นี้ใช้สำหรับการเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของผู้เข้าชม ในขณะเดียวกันก็ยังใช้ในการจัดทำสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลประสิทธิภาพของเว็บไซต์ด้วย โดยข้อมูลที่เก็บนั้นยกตัวอย่างเช่นจำนวนผู้เข้าชม แหล่งที่มา และหน้าที่ผู้เข้าชมเปิดอ่านโดยไม่เปิดเผยตัวตนของผู้เข้าชม
ข้อมูลเพื่อการโฆษณา
คุกกี้ประเภทโฆษณาจะช่วยให้เราสามารถเผยแพร่โฆษณาที่เหมาะสมและตรงกับความต้องการของผู้เข้าชมเว็บไซต์มากยิ่งขึ้น โดยคุกกี้ประเภทนี้จะติดตามการใช้งานในเว็บไซต์ AppDisqus เท่านั้นเพื่อการเผยแพร่โฆษณาได้อย่างตรงความต้องการของผู้ใช้งานต่อไป
CookieDurationDescription
IDE1 year 24 daysคุกกี้จาก Google DoubleClick IDE นี้ติดตั้งโดย Google เพื่อเก็บข้อมูลการใช้งานของผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อกำหนดมาตรฐานในการเลือกโฆษณาที่ตรงความต้องการของผู้ใช้งานมาแสดงบนหน้าเว็บไซต์
test_cookie15 minutesคุกกี้นี้ถูกติดตั้งโดย Doubleclick.net (Google) เพื่อเป็นการตรวจสอบว่าบราวเซอร์ที่ผู้เข้าชมเว็บไซต์ใช้งานอยู่รองรับคุกกี้หรือไม่
VISITOR_INFO1_LIVE5 months 27 daysคุกกี้นี้ถูกใช้งานโดย Youtube เพื่อตรวจสอบแบนด์วิดธ์ที่ผู้ใช้งานใช้ในการเปิดดูวิดีโอ เพื่อเป็นการระบุเวอร์ชั่นของตัวเล่นวิดีโอว่าเป็นเวอร์ชั่นใหม่หรือเก่า
YSCsessionคุกกี้ YSC ถูกติดตั้งและใช้งานโดย Youtube โดยใช้เพื่อเป็นการดึงเอาข้อมูลวิดีโอจากเว็บไซต์ Youtube ขึ้นมาแสดงในหน้าที่ดึงเอาวิดีโอนั้นๆ มาแสดง
yt-remote-connected-devicesneverYoutube ติดตั้งคุกกี้นี้เพื่อเป็นการเก็บข้อมูลการตั้งค่าการเล่นวิดีโอของ Youtube บนเว็บไซต์นี้เพื่อใช้ในการมอบประสบการณ์ที่ดีที่สุดให้กับผู้เข้าชมเว็บไซต์
yt-remote-device-idneverYoutube ติดตั้งคุกกี้นี้เพื่อเป็นการเก็บข้อมูลการตั้งค่าการเล่นวิดีโอของ Youtube บนเว็บไซต์นี้เพื่อใช้ในการมอบประสบการณ์ที่ดีที่สุดให้กับผู้เข้าชมเว็บไซต์
yt.innertube::nextIdneverคุกกี้จาก Youtube ประเภทนี้ใช้สำหรับการสร้างเลขไอดีจำเพาะเพื่อเก็บข้อมูลของวิดีโอที่ผู้เข้าชมเพิ่งรับชมไปในเว็บไซต์นี้
yt.innertube::requestsneverคุกกี้จาก Youtube ประเภทนี้ใช้สำหรับการสร้างเลขไอดีจำเพาะเพื่อเก็บข้อมูลของวิดีโอที่ผู้เข้าชมเพิ่งรับชมไปในเว็บไซต์นี้
ข้อมูลอื่นๆ
คุกกี้ประเภทอื่นๆ ที่ไม่ได้มีการระบุหมวดหมู่ประเภทเอาไว้ แต่อาจมีผลต่อประสบการณ์การใช้งานเว็บไซต์
SAVE & ACCEPT
Powered by CookieYes Logo