Close Menu
  • Home
  • Android
    • News
    • Tips
  • Apple
    • iPad
      • News
      • Tips
    • iPhone
      • News
      • Tips
  • WINDOWS
    • News
    • Tips
  • Gaming
    • Game Review
    • PlayStation
    • Nintendo
    • Xbox & PC
    • Mobile
  • Gadget Reviews
    • Accessories
    • Devices
  • Wearable
  • EV Car
  • Miscellaneous
    • News
    • Tips
  • Tips and Tricks
  • Video
  • Cooky Policies
  • ติดต่อโฆษณา
แอพดิสคัสแอพดิสคัส
  • Home
  • Android
    • Tips & Tricks
  • Apple
    • Tips & Tricks
  • Windows
    • Tips & Tricks
  • Gaming
    • Game Review
    • In Spotlight
    • PlayStation
    • Xbox & PC
    • Nintendo
    • Mobile Games
  • Reviews
    • Mobiles & Tablets
    • Game Review
    • Accessories
  • EV Car
  • Miscellaneous
แอพดิสคัสแอพดิสคัส
คุณกำลังอ่าน :Home » Miscellaneous » News » ไอเดียใหม่ “เก็บภาษีโฆษณาออนไลน์” จากผู้ใช้บริการ Google, Facebook คาดได้ 3 พันล้านต่อปี
Miscellaneous

ไอเดียใหม่ “เก็บภาษีโฆษณาออนไลน์” จากผู้ใช้บริการ Google, Facebook คาดได้ 3 พันล้านต่อปี

19 มกราคม 20162 Mins Read

 

คณะอนุกรรมาธิการทำแผนจัดเก็บรายได้แผ่นดิน ของ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ(สนช.) ผุดไอเดียใหม่เพื่ออุดช่องโหว่ของการจัดเก็บภาษี นั่นคือ การจัดเก็บภาษีจากการโฆษณาผ่านสื่อออนไลน์ต่าง ๆ โดยเฉพาะ Google และ Facebook ที่ปัจจุบันนี้ยังไม่มีการจัดเก็บภาษี ซึ่งทำให้รัฐฯ สูญเสียรายได้ไปเป็นจำนวนมหาศาลในแต่ละปีที่คาดว่าจะเก็บภาษีได้มากถึง 2,000 – 3,000 ล้านบาท จากค่าโฆษณาที่ธุรกิจในไทยเสียให้กับ Google และ Facebook ประมาณ 12,000 – 15,000 ล้านบาทในแต่ละปี

tNbePMDSat82211

 

Advertisement
Advertisement
Advertisement

สำนักงานสถิติแห่งชาติ ระบุว่าผู้ใช้อินเตอร์เน็ตในประเทศไทยในปี 2555 มี 16,63,2908 คน ปี 2556 มี 18,312,405 คน ปี 2557 มี 21,729,382 คน และในปี 2558 มีถึง 24,592,299 คน ส่วนข้อมูลจากรายงาน Digital, Social and Mobile in 2015  ของ WeAreSocial  ไปไกลกว่านั้น โดยระบุว่าปี 2558 ประเทศไทยมีผู้ใช้อินเตอร์เน็ตถึง 35 ล้านรายเลยทีเดียว ซึ่งถือว่ามากกว่าครึ่งหนึ่งของประชากรประเทศ 67.9 ล้านคน

 

ในส่วนของโซเชียลมีเดียอันดับหนึ่งที่คนไทยนิยมใช้อย่าง Facebook นั้น Zocialinc ได้ประเมินไว้ว่า ผู้ใช้ในประเทศไทยมีจำนวนเพิ่มขึ้นจากในปี 2555 ที่มีเพียง 14.5 ล้านบัญชี ( Accounts  ซึ่ง 1 คนอาจจะมีบัญชี Facebook มากกว่า 1 บัญชีได้ ) เพิ่มเป็น 18 ล้านบัญชีในปี 2556  ก้าวกระโดดมาเป็น 26 ล้านบัญชีในปี 2557 และเพิ่มขึ้นเป็น 35 ล้านบัญชี ในปี 2558 ที่ผ่านมา ส่วนมหาอำนาจทางโลกออนไลน์ที่มีรายได้จากการโฆษณาอย่าง Google ก็ยังมีผลิตภัณฑ์ยอดฮิตที่คนไทยนิยมใช้อย่าง YouTube ซึ่งสมาคมโฆษณาดิจิทัล (ประเทศไทย) ระบุว่าในไตรมาสที่ 2 ของปี 2557 มียอดผู้ใช้งาน YouTube อยู่ที่ 26.25 ล้านคน และมีวิดีโออัพโหลดขึ้นไปยังระบบ  สูงถึง 3.4 ล้านวิดีโอ ยอดผู้เข้าชม (Unique Visitors) ต่อเดือน 7,822 ล้านครั้ง และจำนวนครั้งในการเข้าชมวิดีโอต่อเดือนสูงถึง 1,506 ล้านล้านครั้ง

เกาะประเด็น:  Facebook เตรียมดูดภาพจากเครื่องผู้ใช้ หวังป้อนให้ Meta AI แม้ยังไม่ได้โพสต์

 

การเพิ่มขึ้นของประชากรออนไลน์ที่ถือว่าเป็นกลุ่มผู้บริโภคที่สำคัญ จึงทำให้ธุรกิจโฆษณาต้องกระโดดตามมาสู่โลกออนไลน์ด้วย โดยมีประมาณการกันว่า ประเทศไทยมีเม็ดเงินหมุนเวียนในอุตสาหกรรมการโฆษณาปีละกว่า 100,000 ล้านบาท และมียอดเงินค่าใช้จ่ายในการโฆษณาออนไลน์ผ่านระบบอินเตอร์เน็ตไปยังต่างประเทศประมาณ 12,000 – 15,000 ล้านบาท ทั้งนี้ยังไม่มีการจัดเก็บภาษี หรือยังมีช่องโหว่ทางกฎหมายในส่วนนี้ ซึ่งส่งผลให้ผู้ประกอบการที่ใช้บริการโฆษณาของบริษัทต่างประเทศ โดยเฉพาะรายใหญ่อย่าง Google และ Facebook อาจจะได้เปรียบต้นทุนในเชิงภาษีมากกว่าการใช้บริการโฆษณาภายในประเทศ

Facebook_t-shirt_with_whitehat_debit_card_for_Hackers

 

จากปัญหาที่กล่าวมา คณะอนุกรรมาธิการด้านการจัดเก็บรายได้ของแผ่นดิน ในคณะกรรมาธิการการเศรษฐกิจ การเงินและการคลัง สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ได้เสนอว่า เพื่อให้การจัดเก็บภาษีจากการส่งเงินค่าโฆษณาไปให้ผู้ประกอบการที่อยู่ในต่างประเทศ โดยไม่มีการเสียภาษีให้แก่ประเทศไทยเป็นไปอย่างถูกต้อง เป็นธรรมและอุดช่องโหว่กฎหมายตามหลักสากล กรมสรรพากรอาจจะต้องแก้ไขเพิ่มเติม ประมวลรัษฎากร ที่เกี่ยวข้องบางมาตรา อาทิ มาตรา 70 โดยให้เพิ่มการจ่ายเงินค่าโฆษณาตาม มาตรา 40 (7) มาตรา 40 (8) เป็นเงินพึงได้ประเมินที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ได้ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศ มิได้ประกอบกิจการในประเทศ แต่ได้รับเงินได้พึงประเมินที่จ่ายจากหรือในประเทศไทยต้องเสียภาษีให้กับประเทศไทย หรือ มาตรา 65 ตรี  โดยกำหนดให้รายจ่ายจากการส่งเงินค่าโฆษณาไปให้ผู้ประกอบการที่อยู่ต่างประเทศกรณีที่บริษัทต่างประเทศไม่ได้ผ่านการเก็บภาษีตาม มาตรา 70 หรือ มาตรา 76 ทวิ เป็นรายจ่ายต้องห้าม มิให้ถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิตาม มาตรา 65 ตรี

 

โดยคณะอนุกรรมาธิการด้านการจัดเก็บรายได้ของแผ่นดินฯ ระบุว่า ซึ่งผลจากกรณีดังกล่าวจะช่วยจัดเก็บภาษีเงินได้นิติบุคคลตามหลักเกณฑ์ที่กรมสรรพากรกำหนด โดยปัจจุบันกรมสรรพากรจัดเก็บภาษีเงินได้นิติบุคคลในอัตราร้อยละ 20 (ณ เดือนธันวาคม 2558) ก็จะสามารถนำมาประเมินจัดเก็บภาษีได้ประมาณ 2,000 – 3,000 ล้านบาท จากปัจจุบันที่มีการใช้บริการโฆษณาจากต่างประเทศปีละประมาณ 12,000 – 15,000 ล้านบาท และหากอุตสาหกรรมนี้มีการขยายตัวเพิ่มมากขึ้น ในอนาคตก็จะสามารถจัดเก็บภาษีเพิ่มขึ้นตาม

 

ข้อเสนอของคณะอนุกรรมาธิการด้านการจัดเก็บรายได้ของแผ่นดินฯ นี้ ได้ผ่านความเห็นชอบของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ  เมื่อ 25 ธันวาคม 2558 ที่ผ่านมา เพื่อส่งต่อให้คณะรัฐมนตรีและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องพิจารณาว่าจะดำเนินการหรือไม่ ? อย่างไร ? ต่อไป

 

 

Advertisement
facebook Google ภาษี ออนไลน์ เก็บภาษี โฆษณา
Google News YouTube
Share. Facebook Twitter LinkedIn Email Copy Link
Avatar photo
ดร.อเสข ขันธวิชัย
  • Website
  • Facebook
  • X (Twitter)

อาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง ที่มีความสุขที่ได้ส่งต่อความรู้ให้คนอื่น ไม่อยากจำกัดเฉพาะนักศึกษาตัวเอง จึงได้ลงมือเขียนสิ่งที่ตนเองรู้ลงในเว็บไซต์ AppDisqus แห่งนี้ ด้วยความสุขและยินดีที่ได้เป็นส่งต่อและรับความรู้เพื่มจากผู้อ่าน มันช่างเป็นสถานที่แห่งการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ดีจริง ๆ //ขอบคุณ AppDisqus นะครับ

Advertisement
Advertisement
Advertisement

Related Posts

Miscellaneous

Facebook เตรียมดูดภาพจากเครื่องผู้ใช้ หวังป้อนให้ Meta AI แม้ยังไม่ได้โพสต์

28 มิถุนายน 2025
Android

Google Pixel 10 เผยสเปกเต็ม หน้าจอสว่างขึ้น ใช้ชิป Tensor G5 แต่ลดสเปกกล้องหลักลงกว่ารุ่นเดิม

26 มิถุนายน 2025
Miscellaneous

Google จับมือ OpenAI ใช้ Google Cloud รองรับ ChatGPT

22 มิถุนายน 2025
Your Updates

Samsung ใกล้เปิดตัว XR Headset ที่พัฒนาร่วมกับ Google และ Qualcomm ในเร็ว ๆ นี้

20 มิถุนายน 2025
Apple

เตรียมพบ! ฟีเจอร์ใหม่ YouTube Shorts เปลี่ยนฉากหลังด้วย AI แค่พิมพ์ข้อความ

19 มิถุนายน 2025
Android

Google ปิดฉาก Instant Apps ธันวานี้ หลังเปิดใช้งานมา 8 ปี แต่ไม่เคยประสบผลสำเร็จ

13 มิถุนายน 2025
What Score?
78
Game Review

Review : FATAL FURY: City of the Wolves ฉูดฉาดขึ้น! มันส์ขึ้น! ถูกใจแฟนเกมแน่นอน!

By Teethasade Isarankura Na Ayudhaya2 กรกฎาคม 2025
8.2
Devices

รีวิว Reno14 5G และ Reno14 F 5G ยกระดับ The AI Portrait Expert ถ่ายแฟลชสวยคม ฝาหลังใหม่! ดีไซน์หางปลาสุดล้ำ

By Noppinij1 กรกฎาคม 2025
7.5
Accessories

รีวิว Xiaomi Smart Band 10 ดีไซน์ใหม่ ฟีเจอร์แน่น ใช้งานคุ้มเกินราคา

By Noppinij28 มิถุนายน 2025
90
Game Review

Review : Death Stranding 2 เข้าใจง่ายขึ้น แต่ยังเก็บหัวใจเดิมไว้อย่างครบถ้วน

By Teethasade Isarankura Na Ayudhaya23 มิถุนายน 2025

On AppDisqus Channel

รีวิว Sony WH-1000XM6 หูฟังตัดเสียงรบกวนที่แม่นยำที่สุดของโซนี่! ดียังไง? มีอะไรใหม่?

Follow Us
  • Facebook
  • Twitter
  • YouTube
  • TikTok
Latest
Gaming

เปิดตัว Destiny: Rising เกมแนว RPG Shooter เปิดให้บริการ 28 สิงหาคมนี้ บน iOS และ Android

By HallZy7 กรกฎาคม 2025

เปิดตัว Resident Evil: Survival Unit เกมวางแผนแบบ Real-Time สำหรับ iOS และ Android ปล่อยตัวอย่างแรก 10 กรกฎาคมนี้

7 กรกฎาคม 2025

iPhone 17 Pro Max จะมาพร้อมกับแบตเตอรี่ขนาด 5,000 mAh มากสุดตั้งแต่ Apple เคยทำมา

7 กรกฎาคม 2025

Ratatan เกมริทึ่มใหม่จากผู้สร้าง Patapon เลื่อนเปิด Early Access หลังฟีดแบ็กไม่ค่อยดี

6 กรกฎาคม 2025

Galaxy Z Flip 7 ภาพหลุดโชว์จอ Cover เต็มขนาด edge‑to‑edge

6 กรกฎาคม 2025
เรื่องที่เกี่ยวข้อง
Gaming

เปิดตัว Destiny: Rising เกมแนว RPG Shooter เปิดให้บริการ 28 สิงหาคมนี้ บน iOS และ Android

7 กรกฎาคม 2025
Gaming

เปิดตัว Resident Evil: Survival Unit เกมวางแผนแบบ Real-Time สำหรับ iOS และ Android ปล่อยตัวอย่างแรก 10 กรกฎาคมนี้

7 กรกฎาคม 2025
Apple

iPhone 17 Pro Max จะมาพร้อมกับแบตเตอรี่ขนาด 5,000 mAh มากสุดตั้งแต่ Apple เคยทำมา

7 กรกฎาคม 2025
Xbox & PC World

Ratatan เกมริทึ่มใหม่จากผู้สร้าง Patapon เลื่อนเปิด Early Access หลังฟีดแบ็กไม่ค่อยดี

6 กรกฎาคม 2025
แอพดิสคัส
Facebook X (Twitter) Instagram YouTube TikTok
  • Home
  • ติดต่อโฆษณา
  • Cookies Policy & Settings
© 2025 APPDISQUS.COM APPDISQUS : A Source You Can Trust.

Type above and press Enter to search. Press Esc to cancel.

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ ดูเพิ่มเติมที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว
ตั้งค่าคุกกี้อนุญาตทั้งหมด
ตั้งค่าความยินยอม

Privacy Overview

AppDisqus.com ใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสบการณ์การใช้งานในขณะที่คุณกำลังอ่านและรับชมคอนเทนต์ต่างๆ ผ่านทางหน้าเว็บไซต์ โดยในบรรดาคุกกี้เหล่านี้ คุกกี้ประเภทข้อมูลที่จำเป็นนั้นจะถูกจัดเก็บเอาไว้บนอุปกรณ์ส่วนตัวของคุณเองที่ใช้สำหรับการเข้าชมเว็บไซต์เนื่องด้วยเหตุผลที่ว่าคุกกี้เหล่านี้เป็นคุกกี้ที่จำเป็นเพื่อให้เว็บไซต์สามารถทำงานได้อย่างถูกต้องและสมบูรณ์ นอกจากนี้เรายังใช้คุกกี้บุคคลที่สามเพื่อให้เราสามารถวิเคราะห์และเข้าใจการใช้งานเว็บไซต์ AppDisqus.com ของคุณมากยิ่งขึ้น โดยคุกกี้เหล่านี้จะถูกจัดเก็บเอาไว้บนอุปกรณ์ของคุณเท่านั้น และจะจัดเก็บได้ก็ต่อเมื่อคุณได้การอนุญาต ทั้งนี้คุณสามารถจัดการกับการตั้งค่าคุกกี้ของคุณได้เสมอผ่านทางเมนูการตั้งค่านี้

อย่างไรก็ตาม การปิดการใช้งานคุกกี้บางประเภทอาจทำให้เว็บไซต์ไม่สามารถทำงานได้อย่างสมบูรณ์ ส่งผลต่อประสบการณ์การใช้งานของคุณได้
ข้อมูลจำเป็น
Always Enabled
คุกกี้บางประเภทนั้นจำเป็นที่จะต้องนำมาใช้งานเพื่อทำให้เว็บไซต์สามารถมอบประสบการณ์การใช้งานที่ครบฟังก์ชั่นกับผู้ใช้งานได้ โดยคุกกี้ประเภทนี้จะช่วยให้เราคงเซ็สชั่นการเข้าถึงเว็บไซต์ของคุณเอาไว้ ตลอดจนป้องกันสิ่งต่างๆ ที่มีผลต่อความปลอดภัยในการใช้งานเว็บไซต์ AppDisqus.com ทั้งนี้ คุกกี้ประเภทนี้จะไม่มีการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้งานแต่อย่างใด ยกตัวอย่างเช่น คุกกี้ประเภทนี้จะใช้เพื่อให้คุณสามารถเข้าสู่ระบบและคงสถานะการเข้าระบบของคุณบนเว็บเว็บไซต์เราเอาไว้ได้นั่นเอง
CookieDurationDescription
AWSALBCORS7 daysAmazon Web Services ใข้คุกกี้นี้เพื่อเป็นการใช้งานฟังก์ชั่น load balancing หรือการกระจายโหลดเซิร์ฟเวอร์
cf_use_obpastCloudflare ใช้คุกกี้นี้เพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพความรวดเร็วในการโหลดหน้าเว็บไซต์ เพื่อประสบการณ์การใช้งานของผู้เข้าชม
cookielawinfo-checkbox-analytics11 monthsคุกกี้นี้จัดเก็บความยินยอมของผู้ใช้งานให้กับคุกกี้ในหมวดประเภท "ข้อมูลสถิติ"
cookielawinfo-checkbox-functional11 monthsคุกกี้นี้จัดเก็บความยินยอมของผู้ใช้งานให้กับคุกกี้ในหมวดประเภท "ฟังก์ชั่นการทำงาน"
cookielawinfo-checkbox-necessary11 monthsคุกกี้นี้จัดเก็บความยินยอมของผู้ใช้งานให้กับคุกกี้ในหมวดประเภท "จำเป็น"
cookielawinfo-checkbox-others11 monthsคุกกี้นี้จัดเก็บความยินยอมของผู้ใช้งานให้กับคุกกี้ในหมวดประเภท "อื่นๆ"
cookielawinfo-checkbox-performance11 monthsคุกกี้นี้จัดเก็บความยินยอมของผู้ใช้งานให้กับคุกกี้ในหมวดประเภท "ประสิทธิภาพ"
JSESSIONIDsessionคุกกี้ JSESSIONID ถูกใช้โดย New Relic เพื่อเป็นการเก็บไอดีจำเพราะในการเข้าใช้งานของผู้ใช้งานเพื่อให้ New Relic สามารถติดตามและตรวจนับเซ็ตชั่นการเข้าใช้งานเว็บไซต์ได้
viewed_cookie_policy11 monthsคุกกี้นี้ใช้เพื่อเป็นการเก็บความยินยอมในการอนุญาตให้จัดเก็บและใช้งานคุกกี้ของผู้ใช้งาน โดยไม่มีการจัดเก็บข้อมูลส่วนตัวใดๆ ของผู้ใช้งานแม้แต่น้อย
ข้อมูลเพื่อฟังก์ชั่นการทำงาน
คุกกี้ประเภทนี้จะเก็บข้อมูลเพื่อฟังก์ชั่นการทำงานที่อาจไม่ได้จำเป็นที่สุดบนหน้าเว็บไซต์ AppDisqus.com ยกตัวอย่างเช่นฟังก์ชั่นการฝังสื่อประเภทวิดีโอและปุ่มการแชร์บทความไปยังโซเชียลมีเดียต่างๆ บนเว็บไซต์เป็นต้น
ข้อมูลประสิทธิภาพ
คุกกี้ประสิทธิภาพใช้เพื่อวิเคราะห์ความเข้าใจในประสบการณ์การทำงานของเว็บไซต์ต่อผู้ใช้งาน เพื่อให้เราสามารถปรับปรุงเว็บไซต์ให้มีความเหมาะสมต่อการใช้งานมากยิ่งขึ้น
ข้อมูลสถิติ
คุกกี้ประเภทนี้จะจัดเก็บข้อมูลประเภทสถิติ เช่นตัวเลขผู้เข้าชมเว็บไซต์ ตัวเลข UIP หรือผู้ใช้งานที่นับต่อ IP ข้อมูลหน้าเว็บไซต์ที่ถูกเข้าถึงบ่อยที่สุด ข้อมูลแหล่งที่มาของการเข้าถึง และอื่นๆ ในลักษณะเดียวกัน โดยข้อมูลเหล่านี้จะช่วยให้เราสามารถเข้าใจและวิเคราะห์ประสิทธิภาพของเว็บไซต์เราได้ดียิ่งขึ้น ตลอดจนชี้ให้เห็นว่าเราควรปรับปรุงในเรื่องใดเพื่อประสบการณ์ที่ดีขึ้นของผู้ใช้งาน
CookieDurationDescription
_ga_CE4TLMWX4S2 yearsคุกกี้ถูกติดตั้งโดย Google Analytics เพื่อเป็นการเก็บข้อมูลจำนวนผู้เข้าชมเว็บไซต์
_gid1 dayติดตั้งโดย Google Analytics โดย คุกกี้ _gid นี้ใช้สำหรับการเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของผู้เข้าชม ในขณะเดียวกันก็ยังใช้ในการจัดทำสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลประสิทธิภาพของเว็บไซต์ด้วย โดยข้อมูลที่เก็บนั้นยกตัวอย่างเช่นจำนวนผู้เข้าชม แหล่งที่มา และหน้าที่ผู้เข้าชมเปิดอ่านโดยไม่เปิดเผยตัวตนของผู้เข้าชม
ข้อมูลเพื่อการโฆษณา
คุกกี้ประเภทโฆษณาจะช่วยให้เราสามารถเผยแพร่โฆษณาที่เหมาะสมและตรงกับความต้องการของผู้เข้าชมเว็บไซต์มากยิ่งขึ้น โดยคุกกี้ประเภทนี้จะติดตามการใช้งานในเว็บไซต์ AppDisqus เท่านั้นเพื่อการเผยแพร่โฆษณาได้อย่างตรงความต้องการของผู้ใช้งานต่อไป
CookieDurationDescription
IDE1 year 24 daysคุกกี้จาก Google DoubleClick IDE นี้ติดตั้งโดย Google เพื่อเก็บข้อมูลการใช้งานของผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อกำหนดมาตรฐานในการเลือกโฆษณาที่ตรงความต้องการของผู้ใช้งานมาแสดงบนหน้าเว็บไซต์
test_cookie15 minutesคุกกี้นี้ถูกติดตั้งโดย Doubleclick.net (Google) เพื่อเป็นการตรวจสอบว่าบราวเซอร์ที่ผู้เข้าชมเว็บไซต์ใช้งานอยู่รองรับคุกกี้หรือไม่
VISITOR_INFO1_LIVE5 months 27 daysคุกกี้นี้ถูกใช้งานโดย Youtube เพื่อตรวจสอบแบนด์วิดธ์ที่ผู้ใช้งานใช้ในการเปิดดูวิดีโอ เพื่อเป็นการระบุเวอร์ชั่นของตัวเล่นวิดีโอว่าเป็นเวอร์ชั่นใหม่หรือเก่า
YSCsessionคุกกี้ YSC ถูกติดตั้งและใช้งานโดย Youtube โดยใช้เพื่อเป็นการดึงเอาข้อมูลวิดีโอจากเว็บไซต์ Youtube ขึ้นมาแสดงในหน้าที่ดึงเอาวิดีโอนั้นๆ มาแสดง
yt-remote-connected-devicesneverYoutube ติดตั้งคุกกี้นี้เพื่อเป็นการเก็บข้อมูลการตั้งค่าการเล่นวิดีโอของ Youtube บนเว็บไซต์นี้เพื่อใช้ในการมอบประสบการณ์ที่ดีที่สุดให้กับผู้เข้าชมเว็บไซต์
yt-remote-device-idneverYoutube ติดตั้งคุกกี้นี้เพื่อเป็นการเก็บข้อมูลการตั้งค่าการเล่นวิดีโอของ Youtube บนเว็บไซต์นี้เพื่อใช้ในการมอบประสบการณ์ที่ดีที่สุดให้กับผู้เข้าชมเว็บไซต์
yt.innertube::nextIdneverคุกกี้จาก Youtube ประเภทนี้ใช้สำหรับการสร้างเลขไอดีจำเพาะเพื่อเก็บข้อมูลของวิดีโอที่ผู้เข้าชมเพิ่งรับชมไปในเว็บไซต์นี้
yt.innertube::requestsneverคุกกี้จาก Youtube ประเภทนี้ใช้สำหรับการสร้างเลขไอดีจำเพาะเพื่อเก็บข้อมูลของวิดีโอที่ผู้เข้าชมเพิ่งรับชมไปในเว็บไซต์นี้
ข้อมูลอื่นๆ
คุกกี้ประเภทอื่นๆ ที่ไม่ได้มีการระบุหมวดหมู่ประเภทเอาไว้ แต่อาจมีผลต่อประสบการณ์การใช้งานเว็บไซต์
SAVE & ACCEPT
Powered by CookieYes Logo