Close Menu
  • Home
  • Android
    • News
    • Tips
  • Apple
    • iPad
      • News
      • Tips
    • iPhone
      • News
      • Tips
  • WINDOWS
    • News
    • Tips
  • Gaming
    • Game Review
    • PlayStation
    • Nintendo
    • Xbox & PC
    • Mobile
  • Gadget Reviews
    • Accessories
    • Devices
  • Wearable
  • EV Car
  • Miscellaneous
    • News
    • Tips
  • Tips and Tricks
  • Video
  • Cooky Policies
  • ติดต่อโฆษณา
แอพดิสคัสแอพดิสคัส
  • Home
  • Android
    • Tips & Tricks
  • Apple
    • Tips & Tricks
  • Windows
    • Tips & Tricks
  • Gaming
    • Game Review
    • In Spotlight
    • PlayStation
    • Xbox & PC
    • Nintendo
    • Mobile Games
  • Reviews
    • Mobiles & Tablets
    • Game Review
    • Accessories
  • EV Car
  • Miscellaneous
แอพดิสคัสแอพดิสคัส
คุณกำลังอ่าน :Home » Android » News » Google แนะนำ Voice Playbook คู่มือสำหรับเทคโนโลยีสั่งการด้วยเสียง เพื่อสนับสนุนการเข้าถึงข้อมูลและเครื่องมือออนไลน์
Android

Google แนะนำ Voice Playbook คู่มือสำหรับเทคโนโลยีสั่งการด้วยเสียง เพื่อสนับสนุนการเข้าถึงข้อมูลและเครื่องมือออนไลน์

2 กันยายน 20211 Min Read

Google แนะนำ Voice Playbook คู่มือสำหรับเทคโนโลยีสั่งการด้วยเสียง เพื่อสนับสนุนการเข้าถึงข้อมูลและเครื่องมือออนไลน์ 

Google แนะนำ Voice Playbook คู่มือการพัฒนาด้านเทคโนโลยีที่สามารถช่วยให้เข้าใจมากขึ้นว่าทำไมผู้คนถึงใช้เสียงของพวกเขาในการเข้าถึงข้อมูลและเครื่องมือออนไลน์มากขึ้น ซึ่งนับเป็นความท้าทายในส่วนที่ Google ได้ตระหนักถึงศักยภาพของเทคโนโลยีใหม่นี้ ปัจจุบัน เสียงไม่ได้แค่มีประโยชน์สำหรับผู้ใช้อินเทอร์เน็ตหน้าใหม่จำนวนมากเท่านั้น แต่ยังเป็นช่องทางสำคัญที่ช่วยให้พวกเขาเข้าสู่โลกออนไลน์ได้โดยไม่จำเป็นต้องมีระดับการรู้หนังสือ ทำให้พวกเขาสามารถพึ่งพาตนเองได้เพราะเสียงช่วยลดความยุ่งยากในการโต้ตอบกับอุปกรณ์สื่อสาร ลดความซับซ้อนจากการพิมพ์ข้อความเป็นภาษาต่างๆ และทำให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ เช่น ผลลัพธ์ของคำค้นหาที่เข้าใจได้ง่ายขึ้นมาก นอกจากนี้ ผู้คนยังใช้เสียงเพื่อบันทึกและแชร์สิ่งที่ตัวเองพูดหรือออกคำสั่ง เช่น คำค้นหา ใช้ผู้ช่วยเสมือน (virtual assistant) และใช้ฟังก์ชันถอดเสียงเป็นข้อความได้อีกด้วย  

จากข้อมูลการสำรวจของ Statista  พบว่า 42% ของประชากรโลก และ 50% ของผู้คนในเอเชียแปซิฟิก ใช้วิธีการค้นหาด้วยเสียงบนอุปกรณ์สื่อสาร และแนวโน้มดังกล่าวได้เติบโตอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีผู้ใช้อินเทอร์เน็ตหน้าใหม่จำนวนมาก ซึ่งหลายคนไม่มีประวัติการใช้คอมพิวเตอร์หรือแม้แต่การพิมพ์ป้อนข้อมูลเข้าไปในสมาร์ทโฟน

Advertisement
Advertisement
Advertisement

สำหรับในประเทศไทยในทุกๆ ปี มีเด็กจำนวนมากที่หายออกจากบ้านและไม่สามารถหาทางกลับบ้านได้ แต่ด้วยเทคโนโลยีการใช้คำสั่งเสียงสามารถช่วยทำให้ผู้ใช้งานที่ไม่สามารถอ่านและเขียนได้  ตัวอย่างเช่น เด็กหนุ่มชาวไทยคนหนึ่งที่เคยเป็น “คนหาย” นานกว่า 15 ปี แต่หลังจากนั้นเขาสามารถหาทางกลับไปหาครอบครัวได้สำเร็จด้วยการใช้การค้นหาด้วยเสียงบน Google Search

ด้านความท้าท้าย: ผู้คนต่างชื่นชอบการใช้เสียงเพราะทำให้โลกอินเทอร์เน็ตซับซ้อนและสับสนน้อยลง แต่ในขณะเดียวกัน ยังมีความท้าทายสำคัญและสร้างความหงุดหงิดรำคาญบ่อยครั้ง หนึ่งในนั้นคือการตีความผิด (misinterpretation) เพราะเทคโนโลยีการจดจำเสียง (voice recognition) และการแปลภาษาจากคำพูด (speech interpretation) ยังไม่สมบูรณ์แบบนัก ดังนั้น ผู้คนทั่วไปจึงประสบกับปัญหาการตีความที่ผิด แต่เมื่อผู้ใช้หน้าใหม่มีประสบการณ์ที่ไม่ดีกับการใช้เสียง พวกเขามักจะโทษตัวเอง ความคิดเห็นที่ Google ได้ยินบ่อย คือ “มันไม่เข้าใจสำเนียงของฉัน” หลังเจอกับประสบการณ์แย่ๆ ไม่กี่ครั้ง หลายคนมักจะยอมแพ้ ส่วนความท้าทายสำคัญประการที่สอง คือ การรับรู้เกี่ยวกับตนเอง (self-perception) กล่าวคือ ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตหน้าใหม่อาจรู้สึกว่าการใช้เสียงทำให้คนอื่นคิดว่าตนเองไม่มีการศึกษา หรือกังวลว่าเพื่อนๆ จะเยาะเย้ยพวกเขา  นอกจากนี้ยังมีข้อกังวลเรื่องความเป็นส่วนตัวอีกด้วย นอกจากนี้ยังมีข้อกังวลในเรื่องความเป็นส่วนตัว เมื่อผู้ใช้งานถูกรายล้อมไปด้วยคนกลุ่มใหญ่ พวกเขามักไม่เต็มใจที่จะพูดกับอุปกรณ์ของตนเพราะกลัวว่าจะมีใครได้ยิน

เกาะประเด็น:  Google Pixel 10 เผยสเปกเต็ม หน้าจอสว่างขึ้น ใช้ชิป Tensor G5 แต่ลดสเปกกล้องหลักลงกว่ารุ่นเดิม

เทคโนโลยีอาจสร้างปัญหาท้าทายให้กับผู้ใช้เสียง แต่ถ้าได้รับการออกแบบและพัฒนามาอย่างถูกต้อง มันจะช่วยเอาชนะปัญหาเหล่านั้นได้เช่นกัน จากประสบการณ์ที่ผ่านมา ซึ่ง Google ได้เรียนรู้จากเทคโนโลยีสั่งการด้วยเสียงของ Google เอง Google จึงได้สร้าง คู่มือสำหรับเทคโนโลยีสั่งการด้วยเสียง ขึ้นมาชุดหนึ่ง เพื่อนำทางอุตสาหกรรมนี้ให้ก้าวไปข้างหน้า และช่วยให้ผู้พัฒนาเทคโนโลยีทุกรายไม่ว่าจะอยู่ที่ไหนในโลกคิดถึงวิธีสร้างสรรค์เทคโนโลยีที่จะนำมาใช้กับเสียง เพราะเมื่อเข้าใจประสบการณ์การใช้เสียงของผู้คนและสร้างเทคโนโลยีจากประสบการณ์แล้วนั้น ก็จะสามารถยกระดับการใช้ประโยชน์และการเข้าถึงเทคโนโลยีที่พวกเขาใช้ได้อย่างมาก ได้แก่

 Google ทำให้การค้นหาด้วยเสียงง่ายขึ้นด้วยไอคอนธรรมดาๆ (ไม่ใช่ไมโครโฟนยุค 50) ที่ตรงตามมาตรฐานอุตสาหกรรมทั่วไป ใช้ประโยชน์จากพื้นที่บนหน้าจอได้มากขึ้น และแตะไม่เกินครั้งเดียวเพื่อเข้าถึงฟังก์ชันที่ต้องการ 

Google ช่วยป้องกันไม่ให้ผู้คนหงุดหงิดและยอมแพ้ไป โดยทำให้ผลลัพธ์ที่พวกเขาได้รับไม่ซับซ้อนและเข้าใจง่ายขึ้น (ตัวอย่างเช่น ความสามารถในการแยกข้อความยาวๆ ออกเป็นประโยคง่ายๆ สั้นๆ ได้จากข้อความที่ถูกอ่านออกเสียง)  

Google สามารถสะท้อนความเป็นจริงในชีวิตประจำวันของผู้ใช้เทคโนโลยีสั่งการด้วยเสียงหน้าใหม่ได้โดยการอำนวยความสะดวกให้พวกเขาพูดอย่างเป็นธรรมชาติได้ง่ายขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการหยุดหายใจและคิด หรือพัฒนาฟังก์ชันที่ช่วยให้คนที่พูดได้หลายภาษาสามารถเปลี่ยนจากภาษาหนึ่งไปอีกภาษาหนึ่งขณะที่พวกเขากำลังพูดได้สะดวกรวดเร็วขึ้น 

Google ได้กำหนดหลัก 7 ประการเพื่อรับมือกับความท้าทายที่พบบ่อยที่สามารถใช้เป็นแนวทางในการค้นคิดเกี่ยวกับเทคโนโลยีสั่งการด้วยเสียงและวิธีที่จะทำให้แน่ใจว่ามันเป็นเครื่องมือเสริมสร้างขีดความสามารถของผู้ใช้ทุกคน ซึ่งได้แก่

 

#1 พัฒนาขึ้นเพื่อให้ผู้ใช้นำไปใช้งานได้จริง 

#2 คิดให้ไกลเกินกว่าการป้อนข้อมูลเข้า 

#3 ให้ความรู้แก่ผู้ใช้แบบไม่จงใจหรือยัดเยียด 

#4 ใช้ประโยชน์จากสิ่งที่คุ้นเคย 

#5 ทำให้ระบบเข้าใจและค้นหาเสียงได้

#6 ออกแบบเพื่อป้องกันความผิดพลาด 

#7 รองรับผู้ใช้ที่พูดได้หลายภาษา

ในขณะที่ผู้คนหลายร้อยล้านคนทั่วโลกเข้ามาใช้แพลตฟอร์มออนไลน์ Google ตอกย้ำให้การสั่งการด้วยเสียงสร้างความรู้สึกที่เป็นธรรมชาติและมีประโยชน์มากขึ้น และ Google คาดหวังที่จะช่วยให้ผู้คนจำนวนมากขึ้นได้ใช้เสียงของพวกเขา และรับรู้ได้ว่าเสียงนั้นสื่อสารและสั่งการได้จนเกิดผลลัพธ์ตามที่พวกเขาต้องการ

 

Advertisement
Google Voice Playbook คู่มือสำหรับเทคโนโลยีสั่งการด้วยเสียง
Google News YouTube
Share. Facebook Twitter LinkedIn Email Copy Link
Avatar photo
Appdisqus Team
  • Website
  • Facebook
  • X (Twitter)
  • Instagram
  • LinkedIn

คอมลัมนิสต์แอ๊คหลุมผู้หลงใหล IT และ Gadget พร้อมสาระความรู้ How To ดีๆ สำหรับการใช้งานมือถือและแท๊ปเบล็ตที่พร้อมจะมาแชร์กับเพื่อนๆ ที่สนใจในเนื้อหาเดียวกัน เพื่อให้พื้นที่ AppDisqus.com เป็นสเปซสำหรับการแบ่งบันโดยแท้จริง

Advertisement
Advertisement
Advertisement

Related Posts

Android

Google Pixel 10 เผยสเปกเต็ม หน้าจอสว่างขึ้น ใช้ชิป Tensor G5 แต่ลดสเปกกล้องหลักลงกว่ารุ่นเดิม

26 มิถุนายน 2025
Miscellaneous

Google จับมือ OpenAI ใช้ Google Cloud รองรับ ChatGPT

22 มิถุนายน 2025
Your Updates

Samsung ใกล้เปิดตัว XR Headset ที่พัฒนาร่วมกับ Google และ Qualcomm ในเร็ว ๆ นี้

20 มิถุนายน 2025
Apple

เตรียมพบ! ฟีเจอร์ใหม่ YouTube Shorts เปลี่ยนฉากหลังด้วย AI แค่พิมพ์ข้อความ

19 มิถุนายน 2025
Android

Google ปิดฉาก Instant Apps ธันวานี้ หลังเปิดใช้งานมา 8 ปี แต่ไม่เคยประสบผลสำเร็จ

13 มิถุนายน 2025
Android

Android 16 ตัวเต็มมาแล้วอย่างไว! Pixel 6 ขึ้นไปได้ใช้ก่อน พร้อมฟีเจอร์ใหม่จัดเต็ม

11 มิถุนายน 2025
What Score?
7.5
Accessories

รีวิว Xiaomi Smart Band 10 ดีไซน์ใหม่ ฟีเจอร์แน่น ใช้งานคุ้มเกินราคา

By Noppinij28 มิถุนายน 2025
90
Game Review

Review : Death Stranding 2 เข้าใจง่ายขึ้น แต่ยังเก็บหัวใจเดิมไว้อย่างครบถ้วน

By Teethasade Isarankura Na Ayudhaya23 มิถุนายน 2025
8.0
Devices

รีวิว Redmi Pad 2 แท็บเล็ตสายเอนเตอร์เทน จอใหญ่ สเปกครบ ใช้งานลื่นไหลได้ข้ามวัน ด้วยแบต 9000mAh!

By Noppinij19 มิถุนายน 2025284 Views
76
Game Review

Review : Stellar Blade (PC) เกมแอคชั่นสุดมันส์ที่พอร์ตได้ดีเยี่ยม!

By Teethasade Isarankura Na Ayudhaya19 มิถุนายน 2025

On AppDisqus Channel

รีวิว Sony WH-1000XM6 หูฟังตัดเสียงรบกวนที่แม่นยำที่สุดของโซนี่! ดียังไง? มีอะไรใหม่?

Follow Us
  • Facebook
  • Twitter
  • YouTube
  • TikTok
Latest
Video

รีวิว Sony WH-1000XM6 หูฟังตัดเสียงรบกวนที่แม่นยำที่สุดของโซนี่! ดียังไง? มีอะไรใหม่?

By Appdisqus Team30 มิถุนายน 2025

สมรภูมิคลื่นความถี่ : AIS vs TRUE ใครจะขึ้นนำในยุค 5G, AI และ IoT ในไทย?

30 มิถุนายน 2025

iPhone 17 อาจจอใหญ่ขึ้น 6.3 นิ้ว ตอบโจทย์คนอยากได้จอใหญ่ในรุ่นมาตรฐาน

30 มิถุนายน 2025

Samsung อาจเตรียมเปิดตัว “Tri‑Fold” หลังเปิดตัว Fold 7

30 มิถุนายน 2025

AIS จับมือ สบส. ลงนาม MOU ยกระดับสุขภาวะดิจิทัล อสม. ทั่วประเทศ ด้วยเครื่องมือ Digital Health Check

30 มิถุนายน 2025
เรื่องที่เกี่ยวข้อง
Video

รีวิว Sony WH-1000XM6 หูฟังตัดเสียงรบกวนที่แม่นยำที่สุดของโซนี่! ดียังไง? มีอะไรใหม่?

30 มิถุนายน 2025
Miscellaneous

สมรภูมิคลื่นความถี่ : AIS vs TRUE ใครจะขึ้นนำในยุค 5G, AI และ IoT ในไทย?

30 มิถุนายน 2025
iPad Updates

iPhone 17 อาจจอใหญ่ขึ้น 6.3 นิ้ว ตอบโจทย์คนอยากได้จอใหญ่ในรุ่นมาตรฐาน

30 มิถุนายน 2025
News

Samsung อาจเตรียมเปิดตัว “Tri‑Fold” หลังเปิดตัว Fold 7

30 มิถุนายน 2025
แอพดิสคัส
Facebook X (Twitter) Instagram YouTube TikTok
  • Home
  • ติดต่อโฆษณา
  • Cookies Policy & Settings
© 2025 APPDISQUS.COM APPDISQUS : A Source You Can Trust.

Type above and press Enter to search. Press Esc to cancel.

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ ดูเพิ่มเติมที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว
ตั้งค่าคุกกี้อนุญาตทั้งหมด
ตั้งค่าความยินยอม

Privacy Overview

AppDisqus.com ใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสบการณ์การใช้งานในขณะที่คุณกำลังอ่านและรับชมคอนเทนต์ต่างๆ ผ่านทางหน้าเว็บไซต์ โดยในบรรดาคุกกี้เหล่านี้ คุกกี้ประเภทข้อมูลที่จำเป็นนั้นจะถูกจัดเก็บเอาไว้บนอุปกรณ์ส่วนตัวของคุณเองที่ใช้สำหรับการเข้าชมเว็บไซต์เนื่องด้วยเหตุผลที่ว่าคุกกี้เหล่านี้เป็นคุกกี้ที่จำเป็นเพื่อให้เว็บไซต์สามารถทำงานได้อย่างถูกต้องและสมบูรณ์ นอกจากนี้เรายังใช้คุกกี้บุคคลที่สามเพื่อให้เราสามารถวิเคราะห์และเข้าใจการใช้งานเว็บไซต์ AppDisqus.com ของคุณมากยิ่งขึ้น โดยคุกกี้เหล่านี้จะถูกจัดเก็บเอาไว้บนอุปกรณ์ของคุณเท่านั้น และจะจัดเก็บได้ก็ต่อเมื่อคุณได้การอนุญาต ทั้งนี้คุณสามารถจัดการกับการตั้งค่าคุกกี้ของคุณได้เสมอผ่านทางเมนูการตั้งค่านี้

อย่างไรก็ตาม การปิดการใช้งานคุกกี้บางประเภทอาจทำให้เว็บไซต์ไม่สามารถทำงานได้อย่างสมบูรณ์ ส่งผลต่อประสบการณ์การใช้งานของคุณได้
ข้อมูลจำเป็น
Always Enabled
คุกกี้บางประเภทนั้นจำเป็นที่จะต้องนำมาใช้งานเพื่อทำให้เว็บไซต์สามารถมอบประสบการณ์การใช้งานที่ครบฟังก์ชั่นกับผู้ใช้งานได้ โดยคุกกี้ประเภทนี้จะช่วยให้เราคงเซ็สชั่นการเข้าถึงเว็บไซต์ของคุณเอาไว้ ตลอดจนป้องกันสิ่งต่างๆ ที่มีผลต่อความปลอดภัยในการใช้งานเว็บไซต์ AppDisqus.com ทั้งนี้ คุกกี้ประเภทนี้จะไม่มีการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้งานแต่อย่างใด ยกตัวอย่างเช่น คุกกี้ประเภทนี้จะใช้เพื่อให้คุณสามารถเข้าสู่ระบบและคงสถานะการเข้าระบบของคุณบนเว็บเว็บไซต์เราเอาไว้ได้นั่นเอง
CookieDurationDescription
AWSALBCORS7 daysAmazon Web Services ใข้คุกกี้นี้เพื่อเป็นการใช้งานฟังก์ชั่น load balancing หรือการกระจายโหลดเซิร์ฟเวอร์
cf_use_obpastCloudflare ใช้คุกกี้นี้เพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพความรวดเร็วในการโหลดหน้าเว็บไซต์ เพื่อประสบการณ์การใช้งานของผู้เข้าชม
cookielawinfo-checkbox-analytics11 monthsคุกกี้นี้จัดเก็บความยินยอมของผู้ใช้งานให้กับคุกกี้ในหมวดประเภท "ข้อมูลสถิติ"
cookielawinfo-checkbox-functional11 monthsคุกกี้นี้จัดเก็บความยินยอมของผู้ใช้งานให้กับคุกกี้ในหมวดประเภท "ฟังก์ชั่นการทำงาน"
cookielawinfo-checkbox-necessary11 monthsคุกกี้นี้จัดเก็บความยินยอมของผู้ใช้งานให้กับคุกกี้ในหมวดประเภท "จำเป็น"
cookielawinfo-checkbox-others11 monthsคุกกี้นี้จัดเก็บความยินยอมของผู้ใช้งานให้กับคุกกี้ในหมวดประเภท "อื่นๆ"
cookielawinfo-checkbox-performance11 monthsคุกกี้นี้จัดเก็บความยินยอมของผู้ใช้งานให้กับคุกกี้ในหมวดประเภท "ประสิทธิภาพ"
JSESSIONIDsessionคุกกี้ JSESSIONID ถูกใช้โดย New Relic เพื่อเป็นการเก็บไอดีจำเพราะในการเข้าใช้งานของผู้ใช้งานเพื่อให้ New Relic สามารถติดตามและตรวจนับเซ็ตชั่นการเข้าใช้งานเว็บไซต์ได้
viewed_cookie_policy11 monthsคุกกี้นี้ใช้เพื่อเป็นการเก็บความยินยอมในการอนุญาตให้จัดเก็บและใช้งานคุกกี้ของผู้ใช้งาน โดยไม่มีการจัดเก็บข้อมูลส่วนตัวใดๆ ของผู้ใช้งานแม้แต่น้อย
ข้อมูลเพื่อฟังก์ชั่นการทำงาน
คุกกี้ประเภทนี้จะเก็บข้อมูลเพื่อฟังก์ชั่นการทำงานที่อาจไม่ได้จำเป็นที่สุดบนหน้าเว็บไซต์ AppDisqus.com ยกตัวอย่างเช่นฟังก์ชั่นการฝังสื่อประเภทวิดีโอและปุ่มการแชร์บทความไปยังโซเชียลมีเดียต่างๆ บนเว็บไซต์เป็นต้น
ข้อมูลประสิทธิภาพ
คุกกี้ประสิทธิภาพใช้เพื่อวิเคราะห์ความเข้าใจในประสบการณ์การทำงานของเว็บไซต์ต่อผู้ใช้งาน เพื่อให้เราสามารถปรับปรุงเว็บไซต์ให้มีความเหมาะสมต่อการใช้งานมากยิ่งขึ้น
ข้อมูลสถิติ
คุกกี้ประเภทนี้จะจัดเก็บข้อมูลประเภทสถิติ เช่นตัวเลขผู้เข้าชมเว็บไซต์ ตัวเลข UIP หรือผู้ใช้งานที่นับต่อ IP ข้อมูลหน้าเว็บไซต์ที่ถูกเข้าถึงบ่อยที่สุด ข้อมูลแหล่งที่มาของการเข้าถึง และอื่นๆ ในลักษณะเดียวกัน โดยข้อมูลเหล่านี้จะช่วยให้เราสามารถเข้าใจและวิเคราะห์ประสิทธิภาพของเว็บไซต์เราได้ดียิ่งขึ้น ตลอดจนชี้ให้เห็นว่าเราควรปรับปรุงในเรื่องใดเพื่อประสบการณ์ที่ดีขึ้นของผู้ใช้งาน
CookieDurationDescription
_ga_CE4TLMWX4S2 yearsคุกกี้ถูกติดตั้งโดย Google Analytics เพื่อเป็นการเก็บข้อมูลจำนวนผู้เข้าชมเว็บไซต์
_gid1 dayติดตั้งโดย Google Analytics โดย คุกกี้ _gid นี้ใช้สำหรับการเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของผู้เข้าชม ในขณะเดียวกันก็ยังใช้ในการจัดทำสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลประสิทธิภาพของเว็บไซต์ด้วย โดยข้อมูลที่เก็บนั้นยกตัวอย่างเช่นจำนวนผู้เข้าชม แหล่งที่มา และหน้าที่ผู้เข้าชมเปิดอ่านโดยไม่เปิดเผยตัวตนของผู้เข้าชม
ข้อมูลเพื่อการโฆษณา
คุกกี้ประเภทโฆษณาจะช่วยให้เราสามารถเผยแพร่โฆษณาที่เหมาะสมและตรงกับความต้องการของผู้เข้าชมเว็บไซต์มากยิ่งขึ้น โดยคุกกี้ประเภทนี้จะติดตามการใช้งานในเว็บไซต์ AppDisqus เท่านั้นเพื่อการเผยแพร่โฆษณาได้อย่างตรงความต้องการของผู้ใช้งานต่อไป
CookieDurationDescription
IDE1 year 24 daysคุกกี้จาก Google DoubleClick IDE นี้ติดตั้งโดย Google เพื่อเก็บข้อมูลการใช้งานของผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อกำหนดมาตรฐานในการเลือกโฆษณาที่ตรงความต้องการของผู้ใช้งานมาแสดงบนหน้าเว็บไซต์
test_cookie15 minutesคุกกี้นี้ถูกติดตั้งโดย Doubleclick.net (Google) เพื่อเป็นการตรวจสอบว่าบราวเซอร์ที่ผู้เข้าชมเว็บไซต์ใช้งานอยู่รองรับคุกกี้หรือไม่
VISITOR_INFO1_LIVE5 months 27 daysคุกกี้นี้ถูกใช้งานโดย Youtube เพื่อตรวจสอบแบนด์วิดธ์ที่ผู้ใช้งานใช้ในการเปิดดูวิดีโอ เพื่อเป็นการระบุเวอร์ชั่นของตัวเล่นวิดีโอว่าเป็นเวอร์ชั่นใหม่หรือเก่า
YSCsessionคุกกี้ YSC ถูกติดตั้งและใช้งานโดย Youtube โดยใช้เพื่อเป็นการดึงเอาข้อมูลวิดีโอจากเว็บไซต์ Youtube ขึ้นมาแสดงในหน้าที่ดึงเอาวิดีโอนั้นๆ มาแสดง
yt-remote-connected-devicesneverYoutube ติดตั้งคุกกี้นี้เพื่อเป็นการเก็บข้อมูลการตั้งค่าการเล่นวิดีโอของ Youtube บนเว็บไซต์นี้เพื่อใช้ในการมอบประสบการณ์ที่ดีที่สุดให้กับผู้เข้าชมเว็บไซต์
yt-remote-device-idneverYoutube ติดตั้งคุกกี้นี้เพื่อเป็นการเก็บข้อมูลการตั้งค่าการเล่นวิดีโอของ Youtube บนเว็บไซต์นี้เพื่อใช้ในการมอบประสบการณ์ที่ดีที่สุดให้กับผู้เข้าชมเว็บไซต์
yt.innertube::nextIdneverคุกกี้จาก Youtube ประเภทนี้ใช้สำหรับการสร้างเลขไอดีจำเพาะเพื่อเก็บข้อมูลของวิดีโอที่ผู้เข้าชมเพิ่งรับชมไปในเว็บไซต์นี้
yt.innertube::requestsneverคุกกี้จาก Youtube ประเภทนี้ใช้สำหรับการสร้างเลขไอดีจำเพาะเพื่อเก็บข้อมูลของวิดีโอที่ผู้เข้าชมเพิ่งรับชมไปในเว็บไซต์นี้
ข้อมูลอื่นๆ
คุกกี้ประเภทอื่นๆ ที่ไม่ได้มีการระบุหมวดหมู่ประเภทเอาไว้ แต่อาจมีผลต่อประสบการณ์การใช้งานเว็บไซต์
SAVE & ACCEPT
Powered by CookieYes Logo