Close Menu
  • Home
  • Android
    • News
    • Tips
  • Apple
    • iPad
      • News
      • Tips
    • iPhone
      • News
      • Tips
  • WINDOWS
    • News
    • Tips
  • Gaming
    • Game Review
    • PlayStation
    • Nintendo
    • Xbox & PC
    • Mobile
  • Gadget Reviews
    • Accessories
    • Devices
  • Wearable
  • EV Car
  • Miscellaneous
    • News
    • Tips
  • Tips and Tricks
  • Video
  • Cooky Policies
  • ติดต่อโฆษณา
แอพดิสคัสแอพดิสคัส
  • Home
  • Android
    • Tips & Tricks
  • Apple
    • Tips & Tricks
  • Windows
    • Tips & Tricks
  • Gaming
    • Game Review
    • In Spotlight
    • PlayStation
    • Xbox & PC
    • Nintendo
    • Mobile Games
  • Reviews
    • Mobiles & Tablets
    • Game Review
    • Accessories
  • EV Car
  • Miscellaneous
แอพดิสคัสแอพดิสคัส
คุณกำลังอ่าน :Home » Apple » iPad Updates » News » นานาไม่ไร้สาระ: สิ่งที่ควรหลีกเลี่ยงในสังคมออนไลน์ เพื่อไม่ให้ติดคุก!!
Apple

นานาไม่ไร้สาระ: สิ่งที่ควรหลีกเลี่ยงในสังคมออนไลน์ เพื่อไม่ให้ติดคุก!!

25 พฤษภาคม 2015Updated:4 มิถุนายน 20152 Mins Read

ถามเพื่อนๆ นะครับว่า เคยศึกษาหรือรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 มากน้อยแค่ไหน? สำหรับกฎหมายฉบับอื่นๆ เราอาจไม่จำเป็นต้องอ่านทุกฉบับ ถือคติที่ว่าขอเพียงไม่ทำความเดือดร้อนให้ใคร เราก็ไม่ผิดกฎหมายแล้ว ซึ่งมันใช้ได้ผลเสมอมา แต่สำหรับ พรบ. คอมพิวเตอร์ 2550 ตัวนี้ ต่างออกไปครับ เพราะความผิดหลายๆ อย่าง เราไม่รู้ด้วยซ้ำว่ามันผิดและอาจทำเราติดคุกได้ และอาจมีคนแอบแฝงทำความผิดในนามของเราก็ได้ ดังนั้นเราควรระมัดระวังและศึกษา พรบ. ตัวนี้เอาไว้บ้างครับ

10489843_748253841879959_5646633602556489911_n

ในบทความนี้

  • พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 >> ฉบับเต็ม!
  • หากใครไม่อยากอ่านจนตาแฉะ? AppDisqus เราจัดให้ครับ ขอสรุปประเด็นที่ล่อแหลมและสร้างความเสี่ยงให้กับเราในโลกออนไลน์ได้ พร้อมแนะนำวิธีป้องกันตัวเองจากความเสี่ยงที่จะผิด พรบ. คอมพิวเตอร์ 2550 ฉบับนี้
  • ความผิดใน พรบ. คอมพิวเตอร์ 2550 ที่เราไม่คาดคิด!! ว่าจะเสี่ยงติดคุก
  • วิธีหลีกเลี่ยงความผิด พรบ. คอมพิวเตอร์ 2550 โดยที่เราอาจไม่ได้ตั้งใจ
  • ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม
  • แหล่งข้อมูลอ้างอิง

พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 >> ฉบับเต็ม!

หากใครไม่อยากอ่านจนตาแฉะ? AppDisqus เราจัดให้ครับ ขอสรุปประเด็นที่ล่อแหลมและสร้างความเสี่ยงให้กับเราในโลกออนไลน์ได้ พร้อมแนะนำวิธีป้องกันตัวเองจากความเสี่ยงที่จะผิด พรบ. คอมพิวเตอร์ 2550 ฉบับนี้

ความผิดใน พรบ. คอมพิวเตอร์ 2550 ที่เราไม่คาดคิด!! ว่าจะเสี่ยงติดคุก

  1. แอบเข้าคอมพิวเตอร์ของคนอื่น: หากเราแอบเข้าคอมพิวเตอร์ของคนอื่น ในกรณีที่เขาตั้งรหัสผ่านเอาไว้ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท (ในทางกลับกัน หากเราไม่ตั้งรหัสผ่านเข้าเครื่องเอาไว้ แล้วคนอื่นมาแอบเข้าไปใช้งาน เขาอาจไม่มีความผิดตามมาตรานี้) และหากเรานำรหัสผ่านนี้ไปบอกต่อ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท
  2. ขโมย ID และ Password : แอบใช้ ID และ Password ของผู้อื่นโดยที่เจ้าของไม่อนุญาต มีสิทธิ์ถูกฟ้องร้องค่าเสียหาย 100,000 บาท ดังนั้นอย่าแอบใช้ ID และ Password ของคุณสามีหรือภรรยาจนถูกจับได้นะครับ
  3. ส่งอีเมล์หรือข้อความลูกโซ่: แนวๆ ประมาณว่า ให้ส่งต่อไปอีก 7 คน ไม่งั้นเราจะ… นั่น นี่ โน่น !! ไม่ว่าจะทางดีหรือร้าย ก็เข้าข่ายสร้างการรบกวนให้ผู้อื่น มีสิทธิ์โดนปรับไม่เกิน 100,000 บาท
  4. การนำรูปผู้อื่นไปแชร์: ไม่ว่าจะแชร์รูปใคร ทั้งเพื่อน คนรู้จัก ดารา นักการเมือง หรือใครก็แล้วแต่ หากเรานำไปแชร์ หรือดัดแปลง ทำให้ผู้อื่นเสียหาย หรือได้รับความอับอาย มีความผิดและมีโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 100,000 บาท
  5. โพสข้อความด่า: การโพสข้อความด่าหรือจงใจกล่าวหา ใส่ร้ายผู้อื่น มีความผิดและมีโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 100,000 บาท
  6. แชร์สื่อลามก: การแชร์ข้อมูลที่ลามก หรือสื่อให้เห็นถึงเนื้อหนัง ใต้ร่มผ้า มีความผิคและมีโทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี ปรับไม่เกิน 100,000 บาท

วิธีหลีกเลี่ยงความผิด พรบ. คอมพิวเตอร์ 2550 โดยที่เราอาจไม่ได้ตั้งใจ

  • อย่าบอก password ของเราในการเข้าใช้อินเทอร์เน็ตหรืออินทราเน็ตแก่ผู้อื่น โดยเด็ดขาด
  • อย่าให้ผู้อื่นใช้เครื่องคอมพิวเตอร์หรือของสํานักงานรวมทั้งโทรศัพท์เคลื่อนที่เข้าใช้งานอินเทอร์เน็ต เพราะบางคนได้สั่งให้เครื่องจํา User ID และ Password เอาไว้เพื่อความสะดวกในการเข้าสู่ระบบข้อมูลหรือเครือข่ายอินเทอรเน็ต สภาพเช่นนี้ไม่แตกต่างไปจากความเสี่ยงข้อแรกคือเท่ากับการบอก password แก่ผู้อื่น แล้วผู้นั้น เอาไปกระทําความผิดได้หลายรูปแบบ
  • อย่าติดตั้งระบบเครือข่ายไร้สายในบ้านหรือที่ทํางานโดยไม่ใช่มาตรการการตรวจสอบผู้ใช้งานและการเข้ารหัสลับ เพราะการทําเช่นนี้ทําให้คนทั่วไปที่อยู่ริมถนน หรือข้างบ้าน เข้าร่วมใช้ระบบไร้สายของเราได้ แล้วเราจะทราบได้อย่างไรว่า คนที่ผ่านหน้าบ้านหรือสํานักงานที่ติด Wireless LAN จะไม่ใช่ผู้ร้ายที่อาจจะมาเข้าอินเทอร์เน็ตของเราเพื่อไปกระทําความผิด
  • อย่าเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ตด้วย user ID และ password ที่ไม่ใช่ของเราเอง  อันนี้ผิดเต็มๆ ตามข้างต้นเลยครับ อย่าเด็ดขาด!!
  • อย่านํา user ID และ password ของผู้อื่นไปใช้งานหรือเผยแพร่ ถ้าทำแบบนี้ความผิดจะเพิ่มหนักขึ้นจากข้อ 4 เลยครับ
  • อย่าส่งต่อซึ่งภาพหรือข้อความ หรือภาพเคลื่อนไหวที่ผิดกฎหมาย
  • อย่ากด “remember me” หรือ “remember password” ที่เครื่องคอมพิวเตอร์สาธารณะเด็ดขาด เนื่องจากเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องนั้นจะจดจํา Username และ Password ของเราไว้ตลอดกาล ซึ่งหากมีผู่อื่นมาใช้งานต่อจากเรา ผู้นั้นอาจใช้ Username และ Password ของเราไปกระทําผิด ซึ่งเราอาจต้องเป็นผู้รับผิดชอบ
  • อย่าใช้ WiFi (Wireless LAN) ที่เปิดให้ใช้ฟรีโดยปราศจากการเข้ารหัสลับข้อมูล โปรดระวัง หากคิดจะทํารายการด้านการเงินบนเครื่องประเภทนี้ข้อมูลที่ควรจะเป็นความลับของเรา อาจถูก ดักรับได้จากเครื่องคอมพิวเตอร์ในรัศมีคลื่นวิทยุของ WiFi (ราว 8 กิโล line of sight)
  • อย่าทําผิดเสียเองไม่ว่าโดยบังเอิญ หรือโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์

ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม:

  • พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
  • พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็คทรอนิกส์ พ.ศ.2544
  • คำอธิบายพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
  • ข้อควรปฏิบัติในการหลีกเลี่ยงความเสี่ยงในการกระทำผิดพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
  • สรุปฐานความผิดและโทษทั้งหมด ตามร่างพระราชบัญญัติการกระทำความผิดทางคอมพิวเตอร์ (ร่างรัฐบาล)

แหล่งข้อมูลอ้างอิง:

  1. http://www.cad.go.th/ewtadmin/ewt/netgrp/main.php?filename=cyberlaw
  2. http://news.thaiware.com/4483.html

คอมพิวเตอร์ นานาไม่ไร้สาระ พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
Google News YouTube
Share. Facebook Twitter LinkedIn Email Copy Link
Avatar photo
ดร.อเสข ขันธวิชัย
  • Website
  • Facebook
  • X (Twitter)

อาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง ที่มีความสุขที่ได้ส่งต่อความรู้ให้คนอื่น ไม่อยากจำกัดเฉพาะนักศึกษาตัวเอง จึงได้ลงมือเขียนสิ่งที่ตนเองรู้ลงในเว็บไซต์ AppDisqus แห่งนี้ ด้วยความสุขและยินดีที่ได้เป็นส่งต่อและรับความรู้เพื่มจากผู้อ่าน มันช่างเป็นสถานที่แห่งการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ดีจริง ๆ //ขอบคุณ AppDisqus นะครับ

Advertisement
Advertisement
Advertisement

Related Posts

Miscellaneous

วิธีตั้งค่า WiFi ให้มีความเร็วสูงสุด ผ่าน Device manager ของคอมพิวเตอร์

18 กุมภาพันธ์ 2023
Tips and Tricks

วิธีดูรหัสผ่าน WiFi ของคุณเองบน Windows 10 และ Windows 11

8 พฤศจิกายน 2022
Miscellaneous

Anonymous ประกาศสงครามกับรัฐบาลไทย แฮ็กสำนักข่าวกรอง และ สตช. พร้อมเผยข้อมูลสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง 9,000 รายชื่อ

17 ธันวาคม 2016
Miscellaneous

[Tip] วิธีบันทึกวิดีโอหน้าจอคอมพิวเตอร์ง่าย ๆ ด้วย PowerPoint

25 มิถุนายน 2016
Miscellaneous

จับเข่ามานั่งเคลียร์: สิ่งที่น่ากังวลใจมากที่สุด 5 มาตรา พ.ร.บ.คอมฯ ฉบับใหม่ คนออนไลน์ของเสนอทางออก!!

20 มิถุนายน 2016
Apple

เอาจริงแล้ว!! 10 พฤติกรรมที่ต้องโดนแน่ ๆ: โพสต์ต้องคิด…คลิกเสี่ยงคุก!

15 พฤศจิกายน 2015
What Score?
8.5
Devices

รีวิว Infinix Note 50 Pro+ 5G+ สมาร์ตโฟนสุดคุ้ม สเปคแรง! ชาร์จไว 100W กล้อง 50MP OIS ซูม 100X

By Noppinij1 พฤษภาคม 2025252 Views
7.7
Devices

รีวิว vivo V50 Lite และ vivo Watch GT สมาร์ตโฟน+สมาร์ตวอทช์ “คู่หูแบตอึด” บางเบา จอคมชัด จัดเต็มเกินราคา

By Noppinij22 เมษายน 2025221 Views
8.9
Devices

รีวิว OPPO Find N5 สมาร์ตโฟนจอพับบางที่สุดในโลก แข็งแรง เทคโนโลยีล้ำ! พร้อมสำหรับการทำงาน และกล้องระดับโปร

By Noppinij8 เมษายน 2025295 Views
7.2
Devices

รีวิว vivo Y39 5G จัดเต็ม เครื่องสวยสายลุย! “เอาอยู่ ทุกความท้าทาย”

By Noppinij3 เมษายน 2025

On AppDisqus Channel

รีวิว Alldocube iPlay60 Pad Pro แท็บเล็ตลูกครึ่งโน๊ตบุ๊ค หน้าจอ 12.1 นิ้ว แบต 10000mAh สเปกคุ้มๆ ราคาไม่ถึงเก้าพัน

Follow Us
  • Facebook
  • Twitter
  • YouTube
  • TikTok
Latest
Xbox & PC World

เปิดตัวแล้ว! Five Night At Freddy X Dead By Daylight ฆาตกรใหม่ แมพใหม่!

By Teethasade Isarankura Na Ayudhaya10 พฤษภาคม 2025

ผู้ใช้ Steam เรียกร้องปุ่ม “อัปเดตทั้งหมด” เพื่อความสะดวกในการจัดการเกม

10 พฤษภาคม 2025

Helio ไปต่อ! MediaTeK เปิดตัว Helio G200: รีแบรนด์ G100 พร้อมแต่งหน้าใหม่เล็กน้อย

10 พฤษภาคม 2025

Huawei เปิดตัวโน้ตบุ๊ก HarmonyOS แทน Windows อย่างเป็นทางการ

10 พฤษภาคม 2025

Galaxy S25 Edge จะมาพร้อมกระจกกันรอยใหม่ Corning Gorilla Glass Ceramic 2 เป็นรุ่นแรกของโลก

9 พฤษภาคม 2025
เรื่องที่เกี่ยวข้อง
Xbox & PC World

เปิดตัวแล้ว! Five Night At Freddy X Dead By Daylight ฆาตกรใหม่ แมพใหม่!

10 พฤษภาคม 2025
Xbox & PC World

ผู้ใช้ Steam เรียกร้องปุ่ม “อัปเดตทั้งหมด” เพื่อความสะดวกในการจัดการเกม

10 พฤษภาคม 2025
Android

Helio ไปต่อ! MediaTeK เปิดตัว Helio G200: รีแบรนด์ G100 พร้อมแต่งหน้าใหม่เล็กน้อย

10 พฤษภาคม 2025
WINDOWS

Huawei เปิดตัวโน้ตบุ๊ก HarmonyOS แทน Windows อย่างเป็นทางการ

10 พฤษภาคม 2025
แอพดิสคัส
Facebook X (Twitter) Instagram YouTube TikTok
  • Home
  • ติดต่อโฆษณา
  • Cookies Policy & Settings
© 2025 APPDISQUS.COM APPDISQUS : A Source You Can Trust.

Type above and press Enter to search. Press Esc to cancel.

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ ดูเพิ่มเติมที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว
ตั้งค่าคุกกี้อนุญาตทั้งหมด
ตั้งค่าความยินยอม

Privacy Overview

AppDisqus.com ใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสบการณ์การใช้งานในขณะที่คุณกำลังอ่านและรับชมคอนเทนต์ต่างๆ ผ่านทางหน้าเว็บไซต์ โดยในบรรดาคุกกี้เหล่านี้ คุกกี้ประเภทข้อมูลที่จำเป็นนั้นจะถูกจัดเก็บเอาไว้บนอุปกรณ์ส่วนตัวของคุณเองที่ใช้สำหรับการเข้าชมเว็บไซต์เนื่องด้วยเหตุผลที่ว่าคุกกี้เหล่านี้เป็นคุกกี้ที่จำเป็นเพื่อให้เว็บไซต์สามารถทำงานได้อย่างถูกต้องและสมบูรณ์ นอกจากนี้เรายังใช้คุกกี้บุคคลที่สามเพื่อให้เราสามารถวิเคราะห์และเข้าใจการใช้งานเว็บไซต์ AppDisqus.com ของคุณมากยิ่งขึ้น โดยคุกกี้เหล่านี้จะถูกจัดเก็บเอาไว้บนอุปกรณ์ของคุณเท่านั้น และจะจัดเก็บได้ก็ต่อเมื่อคุณได้การอนุญาต ทั้งนี้คุณสามารถจัดการกับการตั้งค่าคุกกี้ของคุณได้เสมอผ่านทางเมนูการตั้งค่านี้

อย่างไรก็ตาม การปิดการใช้งานคุกกี้บางประเภทอาจทำให้เว็บไซต์ไม่สามารถทำงานได้อย่างสมบูรณ์ ส่งผลต่อประสบการณ์การใช้งานของคุณได้
ข้อมูลจำเป็น
Always Enabled
คุกกี้บางประเภทนั้นจำเป็นที่จะต้องนำมาใช้งานเพื่อทำให้เว็บไซต์สามารถมอบประสบการณ์การใช้งานที่ครบฟังก์ชั่นกับผู้ใช้งานได้ โดยคุกกี้ประเภทนี้จะช่วยให้เราคงเซ็สชั่นการเข้าถึงเว็บไซต์ของคุณเอาไว้ ตลอดจนป้องกันสิ่งต่างๆ ที่มีผลต่อความปลอดภัยในการใช้งานเว็บไซต์ AppDisqus.com ทั้งนี้ คุกกี้ประเภทนี้จะไม่มีการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้งานแต่อย่างใด ยกตัวอย่างเช่น คุกกี้ประเภทนี้จะใช้เพื่อให้คุณสามารถเข้าสู่ระบบและคงสถานะการเข้าระบบของคุณบนเว็บเว็บไซต์เราเอาไว้ได้นั่นเอง
CookieDurationDescription
AWSALBCORS7 daysAmazon Web Services ใข้คุกกี้นี้เพื่อเป็นการใช้งานฟังก์ชั่น load balancing หรือการกระจายโหลดเซิร์ฟเวอร์
cf_use_obpastCloudflare ใช้คุกกี้นี้เพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพความรวดเร็วในการโหลดหน้าเว็บไซต์ เพื่อประสบการณ์การใช้งานของผู้เข้าชม
cookielawinfo-checkbox-analytics11 monthsคุกกี้นี้จัดเก็บความยินยอมของผู้ใช้งานให้กับคุกกี้ในหมวดประเภท "ข้อมูลสถิติ"
cookielawinfo-checkbox-functional11 monthsคุกกี้นี้จัดเก็บความยินยอมของผู้ใช้งานให้กับคุกกี้ในหมวดประเภท "ฟังก์ชั่นการทำงาน"
cookielawinfo-checkbox-necessary11 monthsคุกกี้นี้จัดเก็บความยินยอมของผู้ใช้งานให้กับคุกกี้ในหมวดประเภท "จำเป็น"
cookielawinfo-checkbox-others11 monthsคุกกี้นี้จัดเก็บความยินยอมของผู้ใช้งานให้กับคุกกี้ในหมวดประเภท "อื่นๆ"
cookielawinfo-checkbox-performance11 monthsคุกกี้นี้จัดเก็บความยินยอมของผู้ใช้งานให้กับคุกกี้ในหมวดประเภท "ประสิทธิภาพ"
JSESSIONIDsessionคุกกี้ JSESSIONID ถูกใช้โดย New Relic เพื่อเป็นการเก็บไอดีจำเพราะในการเข้าใช้งานของผู้ใช้งานเพื่อให้ New Relic สามารถติดตามและตรวจนับเซ็ตชั่นการเข้าใช้งานเว็บไซต์ได้
viewed_cookie_policy11 monthsคุกกี้นี้ใช้เพื่อเป็นการเก็บความยินยอมในการอนุญาตให้จัดเก็บและใช้งานคุกกี้ของผู้ใช้งาน โดยไม่มีการจัดเก็บข้อมูลส่วนตัวใดๆ ของผู้ใช้งานแม้แต่น้อย
ข้อมูลเพื่อฟังก์ชั่นการทำงาน
คุกกี้ประเภทนี้จะเก็บข้อมูลเพื่อฟังก์ชั่นการทำงานที่อาจไม่ได้จำเป็นที่สุดบนหน้าเว็บไซต์ AppDisqus.com ยกตัวอย่างเช่นฟังก์ชั่นการฝังสื่อประเภทวิดีโอและปุ่มการแชร์บทความไปยังโซเชียลมีเดียต่างๆ บนเว็บไซต์เป็นต้น
ข้อมูลประสิทธิภาพ
คุกกี้ประสิทธิภาพใช้เพื่อวิเคราะห์ความเข้าใจในประสบการณ์การทำงานของเว็บไซต์ต่อผู้ใช้งาน เพื่อให้เราสามารถปรับปรุงเว็บไซต์ให้มีความเหมาะสมต่อการใช้งานมากยิ่งขึ้น
ข้อมูลสถิติ
คุกกี้ประเภทนี้จะจัดเก็บข้อมูลประเภทสถิติ เช่นตัวเลขผู้เข้าชมเว็บไซต์ ตัวเลข UIP หรือผู้ใช้งานที่นับต่อ IP ข้อมูลหน้าเว็บไซต์ที่ถูกเข้าถึงบ่อยที่สุด ข้อมูลแหล่งที่มาของการเข้าถึง และอื่นๆ ในลักษณะเดียวกัน โดยข้อมูลเหล่านี้จะช่วยให้เราสามารถเข้าใจและวิเคราะห์ประสิทธิภาพของเว็บไซต์เราได้ดียิ่งขึ้น ตลอดจนชี้ให้เห็นว่าเราควรปรับปรุงในเรื่องใดเพื่อประสบการณ์ที่ดีขึ้นของผู้ใช้งาน
CookieDurationDescription
_ga_CE4TLMWX4S2 yearsคุกกี้ถูกติดตั้งโดย Google Analytics เพื่อเป็นการเก็บข้อมูลจำนวนผู้เข้าชมเว็บไซต์
_gid1 dayติดตั้งโดย Google Analytics โดย คุกกี้ _gid นี้ใช้สำหรับการเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของผู้เข้าชม ในขณะเดียวกันก็ยังใช้ในการจัดทำสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลประสิทธิภาพของเว็บไซต์ด้วย โดยข้อมูลที่เก็บนั้นยกตัวอย่างเช่นจำนวนผู้เข้าชม แหล่งที่มา และหน้าที่ผู้เข้าชมเปิดอ่านโดยไม่เปิดเผยตัวตนของผู้เข้าชม
ข้อมูลเพื่อการโฆษณา
คุกกี้ประเภทโฆษณาจะช่วยให้เราสามารถเผยแพร่โฆษณาที่เหมาะสมและตรงกับความต้องการของผู้เข้าชมเว็บไซต์มากยิ่งขึ้น โดยคุกกี้ประเภทนี้จะติดตามการใช้งานในเว็บไซต์ AppDisqus เท่านั้นเพื่อการเผยแพร่โฆษณาได้อย่างตรงความต้องการของผู้ใช้งานต่อไป
CookieDurationDescription
IDE1 year 24 daysคุกกี้จาก Google DoubleClick IDE นี้ติดตั้งโดย Google เพื่อเก็บข้อมูลการใช้งานของผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อกำหนดมาตรฐานในการเลือกโฆษณาที่ตรงความต้องการของผู้ใช้งานมาแสดงบนหน้าเว็บไซต์
test_cookie15 minutesคุกกี้นี้ถูกติดตั้งโดย Doubleclick.net (Google) เพื่อเป็นการตรวจสอบว่าบราวเซอร์ที่ผู้เข้าชมเว็บไซต์ใช้งานอยู่รองรับคุกกี้หรือไม่
VISITOR_INFO1_LIVE5 months 27 daysคุกกี้นี้ถูกใช้งานโดย Youtube เพื่อตรวจสอบแบนด์วิดธ์ที่ผู้ใช้งานใช้ในการเปิดดูวิดีโอ เพื่อเป็นการระบุเวอร์ชั่นของตัวเล่นวิดีโอว่าเป็นเวอร์ชั่นใหม่หรือเก่า
YSCsessionคุกกี้ YSC ถูกติดตั้งและใช้งานโดย Youtube โดยใช้เพื่อเป็นการดึงเอาข้อมูลวิดีโอจากเว็บไซต์ Youtube ขึ้นมาแสดงในหน้าที่ดึงเอาวิดีโอนั้นๆ มาแสดง
yt-remote-connected-devicesneverYoutube ติดตั้งคุกกี้นี้เพื่อเป็นการเก็บข้อมูลการตั้งค่าการเล่นวิดีโอของ Youtube บนเว็บไซต์นี้เพื่อใช้ในการมอบประสบการณ์ที่ดีที่สุดให้กับผู้เข้าชมเว็บไซต์
yt-remote-device-idneverYoutube ติดตั้งคุกกี้นี้เพื่อเป็นการเก็บข้อมูลการตั้งค่าการเล่นวิดีโอของ Youtube บนเว็บไซต์นี้เพื่อใช้ในการมอบประสบการณ์ที่ดีที่สุดให้กับผู้เข้าชมเว็บไซต์
yt.innertube::nextIdneverคุกกี้จาก Youtube ประเภทนี้ใช้สำหรับการสร้างเลขไอดีจำเพาะเพื่อเก็บข้อมูลของวิดีโอที่ผู้เข้าชมเพิ่งรับชมไปในเว็บไซต์นี้
yt.innertube::requestsneverคุกกี้จาก Youtube ประเภทนี้ใช้สำหรับการสร้างเลขไอดีจำเพาะเพื่อเก็บข้อมูลของวิดีโอที่ผู้เข้าชมเพิ่งรับชมไปในเว็บไซต์นี้
ข้อมูลอื่นๆ
คุกกี้ประเภทอื่นๆ ที่ไม่ได้มีการระบุหมวดหมู่ประเภทเอาไว้ แต่อาจมีผลต่อประสบการณ์การใช้งานเว็บไซต์
SAVE & ACCEPT
Powered by CookieYes Logo