Close Menu
  • Home
  • Android
    • News
    • Tips
  • Apple
    • iPad
      • News
      • Tips
    • iPhone
      • News
      • Tips
  • WINDOWS
    • News
    • Tips
  • Gaming
    • Game Review
    • PlayStation
    • Nintendo
    • Xbox & PC
    • Mobile
  • Gadget Reviews
    • Accessories
    • Devices
  • Wearable
  • EV Car
  • Miscellaneous
    • News
    • Tips
  • Tips and Tricks
  • Video
  • Cooky Policies
  • ติดต่อโฆษณา
แอพดิสคัสแอพดิสคัส
  • Home
  • Android
    • Tips & Tricks
  • Apple
    • Tips & Tricks
  • Windows
    • Tips & Tricks
  • Gaming
    • Game Review
    • In Spotlight
    • PlayStation
    • Xbox & PC
    • Nintendo
    • Mobile Games
  • Reviews
    • Mobiles & Tablets
    • Game Review
    • Accessories
  • EV Car
  • Miscellaneous
แอพดิสคัสแอพดิสคัส
คุณกำลังอ่าน :Home » Miscellaneous » [TIP] วิธีเช็คข่าวปลอม?? ปัญหาใหญ่ในโลกออนไลน์ สังเกต 3 จุด เพื่อเคลียร์ให้ชัด
Miscellaneous

[TIP] วิธีเช็คข่าวปลอม?? ปัญหาใหญ่ในโลกออนไลน์ สังเกต 3 จุด เพื่อเคลียร์ให้ชัด

2 ธันวาคม 2016Updated:1 กุมภาพันธ์ 20171 Min Read

 

ปัจจุบันข่าวปลอมในโลกออนไลน์นั้นเกิดขึ้นได้ทุกวัน คาดว่าปัญหานี้เกิดมาจากยุครุ่งเรืองของสังคมออนไลน์นี่หละครับ จากเดิมที่เว็บไซต์ขายโฆษณาผิดกฎหมายจะต้องล่อใจคนด้วยเนื้อหาประเภทคลิปโป๊หนังเถื่อน แต่ในยุคสังคมออนไลน์ ทำให้พฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเปลี่ยนไป การเสพข้อมูลข่าวสารไม่ถูกจำกัดแค่สื่อโทรทัศน์และหนังสือพิมพ์อีกต่อไป ข้อมูลข่าวสารสามารถติดตามและศึกษาได้จากเว็บไซต์ต่าง ๆ ได้มากขึ้น หรือโพสต่าง ๆ ใน Facebook ทั้งหน้าส่วนตัวและแฟนเพจ แต่เมื่อช่องทางในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารมีมากขึ้นแบบไร้ทิศทาง ปัญหาที่เกิดขึ้นในตอนนี้ ก็คือ ความน่าเชื่อถือของข้อมูลข่าวสารนั้น ๆ

เมื่อมีแหล่งข้อมูลข่าวสารให้เราเข้าถึงได้ง่ายขึ้น สะดวกขึ้น และเยอะมากขึ้น ปัญหาที่ตามมาก็คือ การแยกแยะว่าข้อมูลข่าวสารนั้นมีความน่าเชื่อถือมากแค่ไหน เมื่อเจอข้อมูลข่าวสารที่ไร้คุณภาพเราต้องใช้ทักษะในการคิดวิเคราะห์พอสมควร แต่หลายคนก็ไม่ถนัดในเรื่องแบบนี้ จึงทำให้เชื่อข้อมูลข่าวสารนั้น ๆ ได้ง่าย ๆ แล้วก็แชร์ต่อ กลายเป็นวัฏจักรของข้อมูลข่าวสารที่ไร้คุณภาพ เมื่อก่อนอาจเป็นข้อมูลข่าวสารที่เป็นเท็จเพราะเข้าใจผิด ตีความไม่ถูกต้อง หรือใส่ความคิดเห็นมากกว่าข้อเท็จจริง ปัจจุบันปัญหากลายเป็น ข่าวปลอม ที่ปลอมทั้งเนื้อหาและรูปภาพ ที่เกิดจากเว็บไซต์ที่เกิดขึ้นมาเพราะทำข่าวปลอมโดยเฉพาะ ปลอมแบบตั้งใจ ไม่ใช่เข้าใจผิด เพื่อให้คนเข้าอ่านเยอะ ๆ โดยไม่สนใจผลกระทบที่ตามมา เพื่อหวังยอดคนที่เห็นโฆษณาและเพิ่มโอกาสคนคลิกโฆษณาเหล่านั้น จนเกิดความเสียหายต่อคนที่เป็นข่าว อย่างกรณีที่เพิ่งเกิดขึ้นของ KFC ที่มีข่าวปลอมว่าพนักงานใช้เท้าหมักไก่ แล้วเราจะทำยังไง??

 

Advertisement
Advertisement
Advertisement

วิธีเช็คข่าวปลอม?? สังเกต 3 จุด เพื่อเคลียร์ให้ชัด

เวลาอ่านข่าวปลอมหลายคนอาจเอะใจสงสัยหรืออนุมานได้ว่าข่าวนั้นเป็นข่าวปลอม จึงทำให้เกิดการตรวจสอบข้อเท็จจริงก่อนจะแชร์ต่อ แต่หลายคนอาจไม่ถึงขั้นนั้นแล้วจะทำยังไง?

  1. วิธีการสังเกตง่ายที่สุด ก็คือ สังเกตป้ายโฆษณา เมื่อเราเข้าไปแล้วจะมีแต่โฆษณาที่ผิดกฎหมาย ทั้งโฆษณาเว็บโป๊เปลือยอนาจาร หรือขายสินค้าผิดกฎหมายต่าง ๆ เพียงเท่านี้ก็สรุปได้เลยว่าเว็บไซต์นั้น ๆ ไม่น่าเชื่อถือ และให้เราระแวงสงสัยเอาไว้ก่อนครับ ว่าข่าวนั้นอาจเป็นข่าวปลอม

facebook-0034

  1. สังเกตที่ชื่อของเว็บไซต์ครับ ชื่อเว็บไซต์พวกนี้มักจะเลียนแบบเว็บไซต์ข่าวดัง ๆ แล้วใส่คำสร้อยเพิ่ม หรือสะกดไม่ถูกต้อง ให้คนที่ไม่ค่อยคุ้นกับชื่อภาษาอังกฤษของสำนักข่าวสับสนเอาได้

facebook-002

เว็บไซต์ข่าวปลอมอื่น ๆ ซึ่งปัจจุบันมีมากกว่านี้นะครับ แต่ลักษณะการตั้งชื่อจะมาในแนวเดียวกันเลย

14907639_327519584278622_7424842135308479748_n
ที่มา: https://www.facebook.com/SureAndShare/
  1. เป็นวิธีตรวจสอบที่ง่าย ๆ ด้วยสมมติฐานที่ว่าเมื่อเนื้อหาข่าวมันปลอม รูปภาพประกอบข่าวก็ต้องปลอมเช่นเดียวกัน หากเราใช้บราวเซอร์ Google Chrome เพียงเราคลิกขวาที่รูปภาพในข่าว มันจะมีหัวข้อให้เลือกว่า ค้นหารูปภาพจาก Google เราก็คลิกเลยครับ สิ่งที่เว็บไซต์พวกนี้จะปลอมรูปภาพ ก็มีแค่ เวลา เหตุการณ์ และสถานที่ ซึ่ง Google จะบอกเราได้หมดว่า รูปภาพนี้เผยแพร่ในอินเทอร์เน็ตเมื่อไหร่(เราก็จะรู้ว่าเวลาไม่ตรงกับความเป็นจริง) เหตุการณ์อะไร(ภาพกับเนื้อหาข่าวคนละเรื่องไปเลย) และที่ไหน(ส่วนใหญ่จะเอาภาพมาจากต่างประเทศ)

facebook-004

เว็บไซต์พวกนี้จะมักง่ายครับ  เขาจะขโมยรูปจาก Google นั่นหละครับ ดังนั้นเราก็ตรวจสอบข่าวด้วย Google ก็จะได้คำตอบเลยว่าข่าวปลอมหรือเปล่า?? ตัวอย่างเช่น ข่าว “โคตรเหี้ยม !! ลุงไม่มีเงินใช้หนี้ 800 บาท เลยมาฆ่ายกบ้านให้ดูต่อหน้าต่อตาแบบนี้ !??”

facebook-007

เพียงเราคลิกขวาแล้วเลือกค้นหารูปภาพจาก Google

facebook-5

เราก็จะได้ผลการค้นหาออกมาเลยครับ ซึ่งส่วนใหญ่เว็บไซต์ลวงโลกพวกนี้จะไปก็อปปี้รูปจากเว็บไซต์ต่างประเทศ เราก็มองหาลิงค์ภาษาอังกฤษเลยครับ ไม่ต้องห่วงเรื่องภาษา เรากำลังแค่หาดูว่ารูปนี้มันมาจากไหน ประเทศอะไร ปีอะไร เท่านั้น อย่างในตัวอย่างจะเห็นว่าเป็นเหตุการณ์ที่เกิดในประเทศกัมพูชา เมื่อปีที่แล้ว ซึ่งปลอมทั้งเวลา เหตุการณ์ และสถานที่เลยครับ

facebook-006

ไม่แน่เราอาจได้ข้อเท็จจริงของข่าวจากการกดหาใน Google ครั้งนี้ อย่างในตัวอย่างผมก็เจอลิงค์ของไทยรัฐออนไลน์ และรู้เลยว่าบุคคลในข่าวไม่มีตัวตนจริง จากการสอบถามทั้งจากทางตำรวจ กำนัน ผู้ใหญ่บ้านและชาวบ้านในหมู่บ้านที่ถูกแอบอ้างในข่าว

facebook-008

 

ดังที่ว่ามาทั้ง 3 ข่าว ใช่จะบอกว่าผมเองเชี่ยวชาญมากมาย เพียงนำข้อสังเกตเล็ก ๆ น้อย ๆ จากประสบการณ์ตัวเองมาเล่าสู่กันฟังครับ และเชื่อว่าเพื่อน ๆ หลายคนก็มีวิธีอื่นที่ใช้ได้เหมือนกันหรือดีกว่า ก็ร่วมแชร์กันได้ครับ แต่ที่แน่ ๆ ในโลกที่กำลังเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็วแบบนี้ เราจะเสพข้อมูลข่าวสารอะไร ควรรู้จักกับคำว่า “ตั้งข้อสงสัย” ให้เป็น เมื่อเราสงสัยก็จะนำไปสู่การค้นหาคำตอบที่ถูกต้องต่อไปได้ ขอฝากทุกคนนะครับ

facebook ข่าวปลอม วิธีตรวจสอบ วิธีเช็ค อย่างไร
Google News YouTube
Share. Facebook Twitter LinkedIn Email Copy Link
Avatar photo
ดร.อเสข ขันธวิชัย
  • Website
  • Facebook
  • X (Twitter)

อาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง ที่มีความสุขที่ได้ส่งต่อความรู้ให้คนอื่น ไม่อยากจำกัดเฉพาะนักศึกษาตัวเอง จึงได้ลงมือเขียนสิ่งที่ตนเองรู้ลงในเว็บไซต์ AppDisqus แห่งนี้ ด้วยความสุขและยินดีที่ได้เป็นส่งต่อและรับความรู้เพื่มจากผู้อ่าน มันช่างเป็นสถานที่แห่งการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ดีจริง ๆ //ขอบคุณ AppDisqus นะครับ

Advertisement
Advertisement
Advertisement

Related Posts

Miscellaneous

Facebook ปรับนโยบายใหม่! วิดีโอ Live จะถูกลบอัตโนมัติภายใน 30 วัน เริ่ม 19 ก.พ. 2025

19 กุมภาพันธ์ 2025
Miscellaneous

กดยืนยันก่อน Facebook ปิดกั้นการมองเห็น “ว่าแฟนเพจคุณไม่ได้มีไว้สำหรับเด็กอายุต่ำกว่า 13 ปี”

14 กุมภาพันธ์ 2025
Android

พบหลักฐานที่อ้างว่า Facebook, Google, และ Amazon ใช้บริการดักฟังโทรศัพท์เพื่อยิงโฆษณา

6 กันยายน 2024
Miscellaneous

Facebook Messenger เพิ่มฟังก์ชั่นเพียบ ส่งภาพคมชัด HD ให้กันได้แล้ว!

10 เมษายน 2024
Miscellaneous

เอกสารชี้ Facebook ให้ Netflix ส่องข้อความผู้ใช้งานในการพัฒนาโฆษณา

4 เมษายน 2024
Miscellaneous

หน่วยงานของเกาหลีใต้อาจคว่ำบาตร Facebook จากการฉ้อโกงภายในแพลตฟอร์ม

8 มีนาคม 2024
What Score?
8.5
Devices

รีวิว Infinix Note 50 Pro+ 5G+ สมาร์ตโฟนสุดคุ้ม สเปคแรง! ชาร์จไว 100W กล้อง 50MP OIS ซูม 100X

By Noppinij1 พฤษภาคม 2025262 Views
7.7
Devices

รีวิว vivo V50 Lite และ vivo Watch GT สมาร์ตโฟน+สมาร์ตวอทช์ “คู่หูแบตอึด” บางเบา จอคมชัด จัดเต็มเกินราคา

By Noppinij22 เมษายน 2025228 Views
8.9
Devices

รีวิว OPPO Find N5 สมาร์ตโฟนจอพับบางที่สุดในโลก แข็งแรง เทคโนโลยีล้ำ! พร้อมสำหรับการทำงาน และกล้องระดับโปร

By Noppinij8 เมษายน 2025298 Views
7.2
Devices

รีวิว vivo Y39 5G จัดเต็ม เครื่องสวยสายลุย! “เอาอยู่ ทุกความท้าทาย”

By Noppinij3 เมษายน 2025

On AppDisqus Channel

รีวิว Alldocube iPlay60 Pad Pro แท็บเล็ตลูกครึ่งโน๊ตบุ๊ค หน้าจอ 12.1 นิ้ว แบต 10000mAh สเปกคุ้มๆ ราคาไม่ถึงเก้าพัน

Follow Us
  • Facebook
  • Twitter
  • YouTube
  • TikTok
Latest
PlayStation World

The Elder Scrolls IV: Oblivion Remastered มีปัญหาประสิทธิภาพ บนคอนโซล

By Teethasade Isarankura Na Ayudhaya12 พฤษภาคม 2025

ข่าวหลุดล่าสุดของ iPhone 17 Series บอกใบ้สิ่งที่แฟนๆหลายคนหวังว่าจะไม่จริง

12 พฤษภาคม 2025

Killing Floor 3 ประกาศวันวางจำหน่ายใหม่ 24 กรกฎาคมนี้ หลังเลื่อนจากกำหนดเดิม

12 พฤษภาคม 2025

Samsung เตรียมเพิ่ม “Private album” ซ่อนภาพและวิดีโอลับได้ใน One UI 8 โดยไม่ต้องลงแอปเพิ่ม

12 พฤษภาคม 2025

หลุดสเปก iQOO Pad 5 / Pad 5 Pro ก่อนเปิดตัว พร้อมเผยโฉม Watch 5

12 พฤษภาคม 2025
เรื่องที่เกี่ยวข้อง
PlayStation World

The Elder Scrolls IV: Oblivion Remastered มีปัญหาประสิทธิภาพ บนคอนโซล

12 พฤษภาคม 2025
iPhone Updates

ข่าวหลุดล่าสุดของ iPhone 17 Series บอกใบ้สิ่งที่แฟนๆหลายคนหวังว่าจะไม่จริง

12 พฤษภาคม 2025
Xbox & PC World

Killing Floor 3 ประกาศวันวางจำหน่ายใหม่ 24 กรกฎาคมนี้ หลังเลื่อนจากกำหนดเดิม

12 พฤษภาคม 2025
Android

Samsung เตรียมเพิ่ม “Private album” ซ่อนภาพและวิดีโอลับได้ใน One UI 8 โดยไม่ต้องลงแอปเพิ่ม

12 พฤษภาคม 2025
แอพดิสคัส
Facebook X (Twitter) Instagram YouTube TikTok
  • Home
  • ติดต่อโฆษณา
  • Cookies Policy & Settings
© 2025 APPDISQUS.COM APPDISQUS : A Source You Can Trust.

Type above and press Enter to search. Press Esc to cancel.

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ ดูเพิ่มเติมที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว
ตั้งค่าคุกกี้อนุญาตทั้งหมด
ตั้งค่าความยินยอม

Privacy Overview

AppDisqus.com ใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสบการณ์การใช้งานในขณะที่คุณกำลังอ่านและรับชมคอนเทนต์ต่างๆ ผ่านทางหน้าเว็บไซต์ โดยในบรรดาคุกกี้เหล่านี้ คุกกี้ประเภทข้อมูลที่จำเป็นนั้นจะถูกจัดเก็บเอาไว้บนอุปกรณ์ส่วนตัวของคุณเองที่ใช้สำหรับการเข้าชมเว็บไซต์เนื่องด้วยเหตุผลที่ว่าคุกกี้เหล่านี้เป็นคุกกี้ที่จำเป็นเพื่อให้เว็บไซต์สามารถทำงานได้อย่างถูกต้องและสมบูรณ์ นอกจากนี้เรายังใช้คุกกี้บุคคลที่สามเพื่อให้เราสามารถวิเคราะห์และเข้าใจการใช้งานเว็บไซต์ AppDisqus.com ของคุณมากยิ่งขึ้น โดยคุกกี้เหล่านี้จะถูกจัดเก็บเอาไว้บนอุปกรณ์ของคุณเท่านั้น และจะจัดเก็บได้ก็ต่อเมื่อคุณได้การอนุญาต ทั้งนี้คุณสามารถจัดการกับการตั้งค่าคุกกี้ของคุณได้เสมอผ่านทางเมนูการตั้งค่านี้

อย่างไรก็ตาม การปิดการใช้งานคุกกี้บางประเภทอาจทำให้เว็บไซต์ไม่สามารถทำงานได้อย่างสมบูรณ์ ส่งผลต่อประสบการณ์การใช้งานของคุณได้
ข้อมูลจำเป็น
Always Enabled
คุกกี้บางประเภทนั้นจำเป็นที่จะต้องนำมาใช้งานเพื่อทำให้เว็บไซต์สามารถมอบประสบการณ์การใช้งานที่ครบฟังก์ชั่นกับผู้ใช้งานได้ โดยคุกกี้ประเภทนี้จะช่วยให้เราคงเซ็สชั่นการเข้าถึงเว็บไซต์ของคุณเอาไว้ ตลอดจนป้องกันสิ่งต่างๆ ที่มีผลต่อความปลอดภัยในการใช้งานเว็บไซต์ AppDisqus.com ทั้งนี้ คุกกี้ประเภทนี้จะไม่มีการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้งานแต่อย่างใด ยกตัวอย่างเช่น คุกกี้ประเภทนี้จะใช้เพื่อให้คุณสามารถเข้าสู่ระบบและคงสถานะการเข้าระบบของคุณบนเว็บเว็บไซต์เราเอาไว้ได้นั่นเอง
CookieDurationDescription
AWSALBCORS7 daysAmazon Web Services ใข้คุกกี้นี้เพื่อเป็นการใช้งานฟังก์ชั่น load balancing หรือการกระจายโหลดเซิร์ฟเวอร์
cf_use_obpastCloudflare ใช้คุกกี้นี้เพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพความรวดเร็วในการโหลดหน้าเว็บไซต์ เพื่อประสบการณ์การใช้งานของผู้เข้าชม
cookielawinfo-checkbox-analytics11 monthsคุกกี้นี้จัดเก็บความยินยอมของผู้ใช้งานให้กับคุกกี้ในหมวดประเภท "ข้อมูลสถิติ"
cookielawinfo-checkbox-functional11 monthsคุกกี้นี้จัดเก็บความยินยอมของผู้ใช้งานให้กับคุกกี้ในหมวดประเภท "ฟังก์ชั่นการทำงาน"
cookielawinfo-checkbox-necessary11 monthsคุกกี้นี้จัดเก็บความยินยอมของผู้ใช้งานให้กับคุกกี้ในหมวดประเภท "จำเป็น"
cookielawinfo-checkbox-others11 monthsคุกกี้นี้จัดเก็บความยินยอมของผู้ใช้งานให้กับคุกกี้ในหมวดประเภท "อื่นๆ"
cookielawinfo-checkbox-performance11 monthsคุกกี้นี้จัดเก็บความยินยอมของผู้ใช้งานให้กับคุกกี้ในหมวดประเภท "ประสิทธิภาพ"
JSESSIONIDsessionคุกกี้ JSESSIONID ถูกใช้โดย New Relic เพื่อเป็นการเก็บไอดีจำเพราะในการเข้าใช้งานของผู้ใช้งานเพื่อให้ New Relic สามารถติดตามและตรวจนับเซ็ตชั่นการเข้าใช้งานเว็บไซต์ได้
viewed_cookie_policy11 monthsคุกกี้นี้ใช้เพื่อเป็นการเก็บความยินยอมในการอนุญาตให้จัดเก็บและใช้งานคุกกี้ของผู้ใช้งาน โดยไม่มีการจัดเก็บข้อมูลส่วนตัวใดๆ ของผู้ใช้งานแม้แต่น้อย
ข้อมูลเพื่อฟังก์ชั่นการทำงาน
คุกกี้ประเภทนี้จะเก็บข้อมูลเพื่อฟังก์ชั่นการทำงานที่อาจไม่ได้จำเป็นที่สุดบนหน้าเว็บไซต์ AppDisqus.com ยกตัวอย่างเช่นฟังก์ชั่นการฝังสื่อประเภทวิดีโอและปุ่มการแชร์บทความไปยังโซเชียลมีเดียต่างๆ บนเว็บไซต์เป็นต้น
ข้อมูลประสิทธิภาพ
คุกกี้ประสิทธิภาพใช้เพื่อวิเคราะห์ความเข้าใจในประสบการณ์การทำงานของเว็บไซต์ต่อผู้ใช้งาน เพื่อให้เราสามารถปรับปรุงเว็บไซต์ให้มีความเหมาะสมต่อการใช้งานมากยิ่งขึ้น
ข้อมูลสถิติ
คุกกี้ประเภทนี้จะจัดเก็บข้อมูลประเภทสถิติ เช่นตัวเลขผู้เข้าชมเว็บไซต์ ตัวเลข UIP หรือผู้ใช้งานที่นับต่อ IP ข้อมูลหน้าเว็บไซต์ที่ถูกเข้าถึงบ่อยที่สุด ข้อมูลแหล่งที่มาของการเข้าถึง และอื่นๆ ในลักษณะเดียวกัน โดยข้อมูลเหล่านี้จะช่วยให้เราสามารถเข้าใจและวิเคราะห์ประสิทธิภาพของเว็บไซต์เราได้ดียิ่งขึ้น ตลอดจนชี้ให้เห็นว่าเราควรปรับปรุงในเรื่องใดเพื่อประสบการณ์ที่ดีขึ้นของผู้ใช้งาน
CookieDurationDescription
_ga_CE4TLMWX4S2 yearsคุกกี้ถูกติดตั้งโดย Google Analytics เพื่อเป็นการเก็บข้อมูลจำนวนผู้เข้าชมเว็บไซต์
_gid1 dayติดตั้งโดย Google Analytics โดย คุกกี้ _gid นี้ใช้สำหรับการเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของผู้เข้าชม ในขณะเดียวกันก็ยังใช้ในการจัดทำสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลประสิทธิภาพของเว็บไซต์ด้วย โดยข้อมูลที่เก็บนั้นยกตัวอย่างเช่นจำนวนผู้เข้าชม แหล่งที่มา และหน้าที่ผู้เข้าชมเปิดอ่านโดยไม่เปิดเผยตัวตนของผู้เข้าชม
ข้อมูลเพื่อการโฆษณา
คุกกี้ประเภทโฆษณาจะช่วยให้เราสามารถเผยแพร่โฆษณาที่เหมาะสมและตรงกับความต้องการของผู้เข้าชมเว็บไซต์มากยิ่งขึ้น โดยคุกกี้ประเภทนี้จะติดตามการใช้งานในเว็บไซต์ AppDisqus เท่านั้นเพื่อการเผยแพร่โฆษณาได้อย่างตรงความต้องการของผู้ใช้งานต่อไป
CookieDurationDescription
IDE1 year 24 daysคุกกี้จาก Google DoubleClick IDE นี้ติดตั้งโดย Google เพื่อเก็บข้อมูลการใช้งานของผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อกำหนดมาตรฐานในการเลือกโฆษณาที่ตรงความต้องการของผู้ใช้งานมาแสดงบนหน้าเว็บไซต์
test_cookie15 minutesคุกกี้นี้ถูกติดตั้งโดย Doubleclick.net (Google) เพื่อเป็นการตรวจสอบว่าบราวเซอร์ที่ผู้เข้าชมเว็บไซต์ใช้งานอยู่รองรับคุกกี้หรือไม่
VISITOR_INFO1_LIVE5 months 27 daysคุกกี้นี้ถูกใช้งานโดย Youtube เพื่อตรวจสอบแบนด์วิดธ์ที่ผู้ใช้งานใช้ในการเปิดดูวิดีโอ เพื่อเป็นการระบุเวอร์ชั่นของตัวเล่นวิดีโอว่าเป็นเวอร์ชั่นใหม่หรือเก่า
YSCsessionคุกกี้ YSC ถูกติดตั้งและใช้งานโดย Youtube โดยใช้เพื่อเป็นการดึงเอาข้อมูลวิดีโอจากเว็บไซต์ Youtube ขึ้นมาแสดงในหน้าที่ดึงเอาวิดีโอนั้นๆ มาแสดง
yt-remote-connected-devicesneverYoutube ติดตั้งคุกกี้นี้เพื่อเป็นการเก็บข้อมูลการตั้งค่าการเล่นวิดีโอของ Youtube บนเว็บไซต์นี้เพื่อใช้ในการมอบประสบการณ์ที่ดีที่สุดให้กับผู้เข้าชมเว็บไซต์
yt-remote-device-idneverYoutube ติดตั้งคุกกี้นี้เพื่อเป็นการเก็บข้อมูลการตั้งค่าการเล่นวิดีโอของ Youtube บนเว็บไซต์นี้เพื่อใช้ในการมอบประสบการณ์ที่ดีที่สุดให้กับผู้เข้าชมเว็บไซต์
yt.innertube::nextIdneverคุกกี้จาก Youtube ประเภทนี้ใช้สำหรับการสร้างเลขไอดีจำเพาะเพื่อเก็บข้อมูลของวิดีโอที่ผู้เข้าชมเพิ่งรับชมไปในเว็บไซต์นี้
yt.innertube::requestsneverคุกกี้จาก Youtube ประเภทนี้ใช้สำหรับการสร้างเลขไอดีจำเพาะเพื่อเก็บข้อมูลของวิดีโอที่ผู้เข้าชมเพิ่งรับชมไปในเว็บไซต์นี้
ข้อมูลอื่นๆ
คุกกี้ประเภทอื่นๆ ที่ไม่ได้มีการระบุหมวดหมู่ประเภทเอาไว้ แต่อาจมีผลต่อประสบการณ์การใช้งานเว็บไซต์
SAVE & ACCEPT
Powered by CookieYes Logo