
ในช่วงหลายวันที่ผ่านมามีข่าวเรื่องสายชาร์จโทรศัพท์ฝังมัลแวร์ที่ไม่ใช่เรื่องจริง หรือแอปพลิเคชั่นดูดเงินที่ทำให้คนไทยสูญเสียเงินกันไปเป็นหลักแสนหลักล้าน ซึ่งเรื่องแบบนี้ก็มีอยู่มานานจนเป็นข่าวกันอยู่บ่อย ๆ จนล่าสุดวันนี้เฟชบุ๊กแฟนเพจ “สรยุทธ สุทัศนะจินดา กรรมกรข่าว” ออกมารางานยว่ากระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เผยรายชื่อแอปพลิเคชั่นดูดเงินกว่า 200 แอปพลิเคชั่นที่อันตรายในตอนนี้
แต่ก็ต้องบอกกันตามตรงว่าแอปพลิเคชั่นเหล่านี้ที่ทาง กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ออกมาเปิดเผย เมื่อคุณติดตั้งไปแล้วมันจะไม่ใช่การโจมตีแบบโดยตรงแต่จะเป็นทางอ้อมเสียมากกว่า โดยมันจะมาในรูปแบบของการแฝงลิงก์แปลก ๆ ที่อันตรายให้ผู้ใช้กดติดตั้งหรือขอเข้าถึงข้อมูลที่สำคัญของผู้ใช้ ถ้าคุณใช้งานแอปพลิเคชั่นเหล่านี้อยู่ควรระวังให้ดี จะมีแอปพลิเคชั่นไหนบ้างเรามาดูกันเลย
คอมลัมนิสต์หัวใจฝักใฝ่ด้าน IT และ Gadget พร้อมสาระความรู้ How To ดีๆ สำหรับการใช้งานมือถือและแท๊ปเบล็ตที่พร้อมจะมาแชร์กับเพื่อนๆ ที่สนใจในเนื้อหาเดียวกัน เพื่อให้พื้นที่ AppDisqus.com เป็นสเปซสำหรับการแบ่งบันโดยแท้จริง
ครั้งแรกที่คุณเลือกเข้าสู่ระบบกับบัญชีโซเชียลเน็ตเวิร์คของคุณนั้น เราจะมีการร้องขอข้อมูลทั่วไป เช่นอีเมลและชื่อผู้ใช้งานจากโซเชียลเน็ตเวิร์คของคุณโดยอัตโนมัติ ทั้งนี้เราใช้ข้อมูลเพื่อการสร้างบัญชีผู้ใช้งานบนเว็บไซต์ APPDISQUS.COM เท่านั้น และเมื่อคุณสร้างบัญชีเรียบร้อยแล้ว คุณจะเข้าสู่ระบบด้วยบัญชีดังกล่าวโดยอัตโนมัติเพื่อประสบการณ์การใช้งานเว็บไซต์ที่สมบูรณ์
การตอบคอมเมนต์ และการทำกิจกรรมร่วมกับเว็บไซต์จะทำให้คุณได้ แต้มคะแนนสะสม AD$ เพื่อใช้สำหรับการแลกของรางวัลที่เรามีจัดเตรียมไว้ให้คุณมากมายต่อไป
ครั้งแรกที่คุณเลือกเข้าสู่ระบบกับบัญชีโซเชียลเน็ตเวิร์คของคุณนั้น เราจะมีการร้องขอข้อมูลทั่วไป เช่นอีเมลและชื่อผู้ใช้งานจากโซเชียลเน็ตเวิร์คของคุณโดยอัตโนมัติ ทั้งนี้เราใช้ข้อมูลเพื่อการสร้างบัญชีผู้ใช้งานบนเว็บไซต์ APPDISQUS.COM เท่านั้น และเมื่อคุณสร้างบัญชีเรียบร้อยแล้ว คุณจะเข้าสู่ระบบด้วยบัญชีดังกล่าวโดยอัตโนมัติเพื่อประสบการณ์การใช้งานเว็บไซต์ที่สมบูรณ์
การตอบคอมเมนต์ และการทำกิจกรรมร่วมกับเว็บไซต์จะทำให้คุณได้ แต้มคะแนนสะสม AD$ เพื่อใช้สำหรับการแลกของรางวัลที่เรามีจัดเตรียมไว้ให้คุณมากมายต่อไป